ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอชทีทีพีเอส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Turkmen (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 159.192.183.119 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 115.84.118.193
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.4]
Turkmen (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Wikimedia donation page with extended validation certificate in firefox.png|thumb|250px|เว็บเบราว์เซอร์จำนวนมาก รวมถึง Firefox (ในภาพ) ใช้แถบที่อยู่เพื่อแสดงให้ผู้ใช้ทราบว่า การเชื่อมต่อของเขาปลอดภัยหรือไม่ โดยบ่อยครั้งก็แสดงด้วยสีที่แตกต่างกันของพื้นหลัง|alt=https://]]
[[ภาพ:Wikimedia donation page with extended validation certificate in
firefox.png|thumb|250px|เว็บเบราว์เซอร์จำนวนมาก รวมถึง Firefox (ในภาพ) ใช้แถบที่อยู่เพื่อแสดงให้ผู้ใช้ทราบว่า การเชื่อมต่อของเขาปลอดภัยหรือไม่ โดยบ่อยครั้งก็แสดงด้วยสีที่แตกต่างกันของพื้นหลัง|alt=https://]]


'''เกณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติแบบมั่นคง''' หรือ '''เอชทีทีพีเอส''' ({{lang-en|Hypertext Transfer Protocol Secure: HTTPS}}) เป็นการผสม [[เอชทีทีพี|Hypertext Transfer Protocol]] เข้ากับโพรโทคอล [[SSL/TLS]] เพื่อสร้างการสื่อสารแบบเข้ารหัส และความสามารถในการระบุเว็บเซิร์ฟเวอร์ว่าปลอดภัย การเชื่อมต่อแบบ HTTPS มักใช้สำหรับการทำธุรกรรมทางการเงินบนเว็บ และการทำธุรกรรมที่ต้องรักษาเป็นของลับในระบบสารสนเทศของบริษัท
'''เกณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติแบบมั่นคง''' หรือ '''เอชทีทีพีเอส''' ({{lang-en|Hypertext Transfer Protocol Secure: HTTPS}}) เป็นการผสม [[เอชทีทีพี|Hypertext Transfer Protocol]] เข้ากับโพรโทคอล [[SSL/TLS]] เพื่อสร้างการสื่อสารแบบเข้ารหัส และความสามารถในการระบุเว็บเซิร์ฟเวอร์ว่าปลอดภัย การเชื่อมต่อแบบ HTTPS มักใช้สำหรับการทำธุรกรรมทางการเงินบนเว็บ และการทำธุรกรรมที่ต้องรักษาเป็นของลับในระบบสารสนเทศของบริษัท

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:18, 6 สิงหาคม 2563

https://
เว็บเบราว์เซอร์จำนวนมาก รวมถึง Firefox (ในภาพ) ใช้แถบที่อยู่เพื่อแสดงให้ผู้ใช้ทราบว่า การเชื่อมต่อของเขาปลอดภัยหรือไม่ โดยบ่อยครั้งก็แสดงด้วยสีที่แตกต่างกันของพื้นหลัง

เกณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติแบบมั่นคง หรือ เอชทีทีพีเอส (อังกฤษ: Hypertext Transfer Protocol Secure: HTTPS) เป็นการผสม Hypertext Transfer Protocol เข้ากับโพรโทคอล SSL/TLS เพื่อสร้างการสื่อสารแบบเข้ารหัส และความสามารถในการระบุเว็บเซิร์ฟเวอร์ว่าปลอดภัย การเชื่อมต่อแบบ HTTPS มักใช้สำหรับการทำธุรกรรมทางการเงินบนเว็บ และการทำธุรกรรมที่ต้องรักษาเป็นของลับในระบบสารสนเทศของบริษัท

ประวัติ

เน็ตสเคปคอมมิวนิเคชันส์ สร้าง HTTPS ขึ้นในปี ค.ศ. 1994 สำหรับเว็บเบราว์เซอร์ เน็ตสเคป แนวิเกเตอร์[1] แรกเริ่มเดิมที HTTPS ใช้โพรโทคอล SSL ต่อมา SSL ได้พัฒนากลายเป็น Transport Layer Security (TLS) รุ่นปัจจุบันของ HTTPS ถูกกำหนดอย่างเป็นทางการโดย RFC 2818 ในเดือนพฤษภาคม 2000

อ้างอิง

  1. Walls, Colin (2005). Embedded software. p. 344.

แหล่งข้อมูลอื่น