ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:John Dewey cph.3a51565.jpg|200px|thumb|[[จอห์น ดูอี]] ผู้สนับสนุนปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม]]
[[ไฟล์:John Dewey cph.3a51565.jpg|200px|thumb|[[จอห์น ดูอี]] ผู้สนับสนุนปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม]]
''' พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษา''' หรือ '''ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม''' ({{lang-en|Progressive education}}) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทาง[[ศึกษาศาสตร์]]ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า[[ พิพัฒนาการนิยม]]เป็นคำที่ใช้เพื่อแสดงความแตกต่างจาก[[หลักสูตร]]แบบยุโรป–อเมริกาดั้งเดิม พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษาให้ความสำคัญกับประสบการณ์ปัจจุบัน โดยหลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมจะเชื่อว่าความรู้เป็นเครื่องมือในการหาประสบการณ์และการจัดการศึกษาต้องเน้นถึงความถนัดและความสนใจของผู้เรียน<ref> อรรถพล อนันตวรสกุล."บทที่ 5 พื้นฐานสำคัญในการพัฒนาหลักสูตร : เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรขั้นนำ", กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (อัดสำเนา).</ref> นอกจากนี้ยังเน้นให้เกิดวิธีการเรียนแบบแก้ปัญหาหรือเรียนด้วยการปฏิบัติและมีความเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิต<ref name="บุญเลี้ยง">บุญเลี้ยง ทุมทอง ,การพัฒนาหลักสูตร, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554) [[ISBN]] [[พิเศษ:แหล่งหนังสือ/9-74-032652-8|9-74-032652-8]]</ref> ดังนั้นหลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญานี้จะพัฒนาขึ้นโดยคำนึงถึงพื้นฐานความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก นอกจากนี้ยังนำ[[วิธีการทางวิทยาศาสตร์]]เข้ามาสอดแทรกในการเรียนรู้และจะเปิดโอกาสให้ลงมือทำจริง<ref name="oregon">{{cite web|url=http://oregonstate.edu/instruct/ed416/PP3.html|title=Educational Philosophies|publisher=Oregon State University|date=8 December 2013}}</ref>
''' พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษา''' หรือ '''ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม''' ({{lang-en|Progressive education}}) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทาง[[ศึกษาศาสตร์]]ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า[[ พิพัฒนาการนิยม]]เป็นคำที่ใช้เพื่อแสดงความแตกต่างจาก[[หลักสูตร]]แบบยุโรป–อเมริกาดั้งเดิม พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษาให้ความสำคัญกับประสบการณ์ปัจจุบัน โดยหลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมจะเชื่อว่าความรู้เป็นเครื่องมือในการหาประสบการณ์และการจัดการศึกษาต้องเน้นถึงความถนัดและความสนใจของผู้เรียน<ref> อรรถพล อนันตวรสกุล."บทที่ 5 พื้นฐานสำคัญในการพัฒนาหลักสูตร : เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรขั้นนำ", กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (อัดสำเนา).</ref> นอกจากนี้ยังเน้นให้เกิดวิธีการเรียนแบบแก้ปัญหาหรือเรียนด้วยการปฏิบัติและมีความเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิต<ref name="บุญเลี้ยง">บุญเลี้ยง ทุมทอง ,การพัฒนาหลักสูตร, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554) [[ISBN]] [[พิเศษ:แหล่งหนังสือ/9-74-032652-8|9-74-032652-8]]</ref> หลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญานี้จะพัฒนาขึ้นโดยคำนึงถึงพื้นฐานความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก รวมไปถึงมีการนำ[[วิธีการทางวิทยาศาสตร์]]เข้ามาสอดแทรกในการเรียนรู้และจะเปิดโอกาสให้ลงมือทำจริง<ref name="oregon">{{cite web|url=http://oregonstate.edu/instruct/ed416/PP3.html|title=Educational Philosophies|publisher=Oregon State University|date=8 December 2013}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:44, 4 สิงหาคม 2563

จอห์น ดูอี ผู้สนับสนุนปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม

พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษา หรือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (อังกฤษ: Progressive education) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางศึกษาศาสตร์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่าพิพัฒนาการนิยมเป็นคำที่ใช้เพื่อแสดงความแตกต่างจากหลักสูตรแบบยุโรป–อเมริกาดั้งเดิม พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษาให้ความสำคัญกับประสบการณ์ปัจจุบัน โดยหลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมจะเชื่อว่าความรู้เป็นเครื่องมือในการหาประสบการณ์และการจัดการศึกษาต้องเน้นถึงความถนัดและความสนใจของผู้เรียน[1] นอกจากนี้ยังเน้นให้เกิดวิธีการเรียนแบบแก้ปัญหาหรือเรียนด้วยการปฏิบัติและมีความเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิต[2] หลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญานี้จะพัฒนาขึ้นโดยคำนึงถึงพื้นฐานความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก รวมไปถึงมีการนำวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาสอดแทรกในการเรียนรู้และจะเปิดโอกาสให้ลงมือทำจริง[3]

อ้างอิง

  1. อรรถพล อนันตวรสกุล."บทที่ 5 พื้นฐานสำคัญในการพัฒนาหลักสูตร : เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรขั้นนำ", กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (อัดสำเนา).
  2. บุญเลี้ยง ทุมทอง ,การพัฒนาหลักสูตร, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554) ISBN 9-74-032652-8
  3. "Educational Philosophies". Oregon State University. 8 December 2013.