ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:ArsaHuajaiit/ทดลองเขียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ArsaHuajaiit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ArsaHuajaiit (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


* '''18 มกราคม พ.ศ. 2495''' หลังจากการประชุมสันนิบาตกาชาดครั้งที่ 17 เสร็จสิ้นลง ศาสตราจารย์นายแพทย์เฉลิม บูรณะนนท์ ผู้อำนวยการกองวิทยาศาสตร์ สภากาชาดไทย ในขณะนั้นได้นำมติดังกล่าวเสนอต่อกรรมการสภากาชาดไทยขอจัดตั้งแผนกบริการโลหิตขึ้นในกองวิทยาศาสตร์ งานบริการโลหิตของสภากาชาดไทยจึงได้เริ่มกิจการขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2495 เพื่อตอบสนองต่อข้อเสนอของ[[คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ]]
* '''18 มกราคม พ.ศ. 2495''' หน่วยงานบริการโลหิตของสภากาชาดไทยจึงได้เริ่มกิจการขึ้นอย่างเป็นทางการ


* '''พ.ศ. 2496''' หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต พร้อมด้วย พระประยูรญาติ ได้ประทานเงินสร้าง '''อาคารรังสิตานุสรณ์'''<ref>https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/8/88/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C.jpg</ref> เพื่อใช้เป็นที่ทำการแผนกบริการโลหิต
* '''พ.ศ. 2496''' สร้าง '''อาคารรังสิตานุสรณ์'''<ref>https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/8/88/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C.jpg</ref> เพื่อใช้เป็นที่ทำการแผนกบริการโลหิต


* '''12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496''' [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด อาคารรังสิตานุสรณ์ การรับบริจาคโลหิตในระยะแรก กระทำเฉพาะภายในสถานที่เท่านั้น มีผู้บริจาควันละ 6-8 ราย
* '''12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496''' เริ่มการรับบริจาคโลหิตในระยะแรก ตอนนั้นมีผู้บริจาคเพียงวันละ 6-8 ราย


* '''6 เมษายน พ.ศ. 2496''' [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต]] อุปนายกผู้อำนวยการสภากาชาดไทย ทรงลงพระนามในใบสมัครเป็นผู้บริจาคโลหิต หมายเลข 00001
* '''6 เมษายน พ.ศ. 2496''' ผู้บริจาคโลหิต หมายเลข 00001 คือ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต]] อุปนายกผู้อำนวยการสภากาชาดไทย


* '''พ.ศ. 2498''' ได้เริ่มมีหน่วยเคลื่อนที่ไปรับบริจาคโลหิตนอกสถานที่ โดยได้รับบริจาครถยนต์สำหรับใช้รับบริจาคโลหิต จากสมาคมเซนต์แอนดรูส์ กรุงเทพฯ
* '''พ.ศ. 2498''' เริ่มมีหน่วยเคลื่อนที่ไปรับบริจาคโลหิตนอกสถานที่


* '''พ.ศ. 2499''' [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานของที่ระลึกแก่ผู้บริจาคโลหิตเป็นครั้งแรก
* '''พ.ศ. 2499''' เริ่มมีของที่ระลึกแก่ผู้บริจาคโลหิตเป็นครั้งแรก


* '''พ.ศ. 2504''' สภากาชาดไทย ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่งสภากาชาดไทยชุดแรกขึ้น เพื่อหาแนวทางให้มีการบริจาคโลหิตเพิ่มมากขึ้น โดยมี พลตรี[[ศิริ สิริโยธิน]] เป็นประธานคณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่งสภากาชาดไทยคนแรก
* '''พ.ศ. 2504''' สภากาชาดไทย ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่งสภากาชาดไทยชุดแรกขึ้น เพื่อหาแนวทางให้มีการบริจาคโลหิตเพิ่มมากขึ้น


* '''16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509''' จัดตั้งศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ<ref>http://www.tsh.or.th/file_upload/files/v1%20n1%20057.pdf</ref> ณ กรุงเทพฯ โดยกิจการได้ขยายไปยังส่วนภูมิภาคโดยเปิดสาขาบริการโลหิตขึ้นตามจังหวัดต่างๆ เพื่อจัดหาโลหิตให้เพียงพอแก่ผู้ป่วยภายในจังหวัด
* '''พ.ศ. 2506''' รัฐบาลฝรั่งเศส ได้เสนอให้ความช่วยเหลือแก่รัฐบาลไทยในด้านวิชาการ เพื่อจัดตั้งศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติขึ้น กระทรวงสาธารณสุข จึงเชิญสถาบันต่างๆ ที่มีบริการโลหิตเข้าร่วมประชุม ที่ประชุมมีมติเห็นชอบและมอบให้สภากาชาดไทย รับไปดำเนินการ


* '''13 ตุลาคม พ.ศ. 2512''' เป็น "'''วันสถาปนาศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ'''" สภากาชาดไทย
* '''11 มีนาคม พ.ศ. 2506''' [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานเข็มที่ระลึกแก่ผู้บริจาคโลหิต ณ สถานเสาวภา ต่อจากนั้นได้เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานเข็มที่ระลึกแก่ผู้บริจาคโลหิตประจำทุกปี


* '''พ.ศ. 2520''' สร้างตึก 4 ชั้น เพื่อใช้เป็นสถานที่ผลิตพลาสมาแห้งและแยกส่วนประกอบโลหิต
* '''14 ธันวาคม พ.ศ. 2508''' ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ได้ให้ความเห็นชอบให้รัฐบาลไทย รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลฝรั่งเศส เพื่อจัดตั้งศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ แล้วมอบให้สภากาชาดไทยรับไปดำเนินการ <ref>http://www.tsh.or.th/file_upload/files/v2%20n2%20237.pdf</ref>


* '''พ.ศ. 2535''' สร้างอาคารสูง 11 ชั้น ชื่อว่า '''อาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ'''"
* '''16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509''' รัฐบาลฝรั่งเศส กับรัฐบาลไทย ร่วมลงนามในข้อตกลงว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ<ref>http://www.tsh.or.th/file_upload/files/v1%20n1%20057.pdf</ref> ณ กรุงเทพฯ และแต่งตั้ง นายแพทย์เฉลิม บูรณะนนท์ เป็นผู้อำนวยการคนแรก กิจการได้ขยายไปยังส่วนภูมิภาคโดยเปิดสาขาบริการโลหิตขึ้นตามจังหวัดต่างๆ เพื่อจัดหาโลหิตให้เพียงพอแก่ผู้ป่วยภายในจังหวัด


* '''พ.ศ. 2511''' รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณเป็นค่าก่อสร้างอาคารศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติและเครื่องเรือน รวมเป็นเงิน 6.1 ล้านบาท<ref>http://www.tsh.or.th/file_upload/files/v1%20n1%20057.pdf</ref>
* '''27 มีนาคม พ.ศ. 2552''' เปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งใช้เป็นอาคารที่ทำการของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ จวบจนปัจจุบัน

* '''14 มีนาคม พ.ศ. 2511''' จอมพล[[ถนอม กิตติขจร]] นายกรัฐมนตรี ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ

* '''13 ตุลาคม พ.ศ. 2512''' [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด อาคารศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ จึงถือเอาวันที่ 13 ตุลาคม เป็น "'''วันสถาปนาศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ'''" สภากาชาดไทย

* '''พ.ศ. 2520''' รัฐบาลอนุมัติเงิน 14 ล้านบาทสร้างตึก 4 ชั้น เพื่อใช้เป็นสถานที่ผลิตพลาสมาแห้งและแยกส่วนประกอบโลหิต โดยวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520

* '''พ.ศ. 2535''' คณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่งสภากาชาดไทย ได้จัดสร้างอาคารหลังใหม่ เนื่องในโอกาสที่[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ โดยได้รับพระราชทานนามว่า "'''อาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ'''" เป็นอาคารสูง 11 ชั้น

* '''27 มีนาคม พ.ศ. 2552''' [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] อุปนายิกาผู้อำนวยการสภากาชาดไทย เสด็จพระราชดำเนินไปประกอบพิธีเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งใช้เป็นอาคารที่ทำการของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ จวบจนปัจจุบัน


== ทำเนียบผู้บริหารศูนย์บริหารโลหิตแห่ง ==
== ทำเนียบผู้บริหารศูนย์บริหารโลหิตแห่ง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:16, 1 สิงหาคม 2563

ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสภากาชาดที่มีหน้าที่ในการจัดหาโลหิตให้มีปริมาณเพียงพอ เพื่อนำไปใช้รักษาผู้ป่วยทั่วประเทศไทย มีทั้งในรูปแบบโลหิต ส่วนประกอบของโลหิต และผลิตภัณฑ์โลหิต โดยรับบริจากโลหิตจากผู้บริจาคโลหิตด้วยความสมัครใจไม่หวังสิ่งตอบแทน และมีการจัดตั้งภาคบริการโลหิตแห่งชาติให้บริการรับบริจาคอยู่ทั่วประเทศ

ประวัติ

  • 18 มกราคม พ.ศ. 2495 หน่วยงานบริการโลหิตของสภากาชาดไทยจึงได้เริ่มกิจการขึ้นอย่างเป็นทางการ
  • พ.ศ. 2496 สร้าง อาคารรังสิตานุสรณ์[1] เพื่อใช้เป็นที่ทำการแผนกบริการโลหิต
  • 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 เริ่มการรับบริจาคโลหิตในระยะแรก ณ ตอนนั้นมีผู้บริจาคเพียงวันละ 6-8 ราย
  • พ.ศ. 2498 เริ่มมีหน่วยเคลื่อนที่ไปรับบริจาคโลหิตนอกสถานที่
  • พ.ศ. 2499 เริ่มมีของที่ระลึกแก่ผู้บริจาคโลหิตเป็นครั้งแรก
  • พ.ศ. 2504 สภากาชาดไทย ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่งสภากาชาดไทยชุดแรกขึ้น เพื่อหาแนวทางให้มีการบริจาคโลหิตเพิ่มมากขึ้น
  • 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 จัดตั้งศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ[2] ณ กรุงเทพฯ โดยกิจการได้ขยายไปยังส่วนภูมิภาคโดยเปิดสาขาบริการโลหิตขึ้นตามจังหวัดต่างๆ เพื่อจัดหาโลหิตให้เพียงพอแก่ผู้ป่วยภายในจังหวัด
  • 13 ตุลาคม พ.ศ. 2512 เป็น "วันสถาปนาศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ" สภากาชาดไทย
  • พ.ศ. 2520 สร้างตึก 4 ชั้น เพื่อใช้เป็นสถานที่ผลิตพลาสมาแห้งและแยกส่วนประกอบโลหิต
  • พ.ศ. 2535 สร้างอาคารสูง 11 ชั้น ชื่อว่า อาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ"
  • 27 มีนาคม พ.ศ. 2552 เปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งใช้เป็นอาคารที่ทำการของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ จวบจนปัจจุบัน

ทำเนียบผู้บริหารศูนย์บริหารโลหิตแห่ง

  • รูปทำเนียบผู้บริหารศูนย์บริหารโลหิตแห่งชาติ[3]
  • พ.ศ. 2496 – 2517 นายแพทย์เฉลิม บูรณะนนท์
  • พ.ศ. 2517 – 2524 ศาสตราจารย์นายแพทย์บุญธรรม สุนทรเกียรติ
  • พ.ศ. 2524 – 2528 แพทย์หญิงประไพ ชูโต
  • พ.ศ. 2528 – 2541 ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ชัยเวช นุชประยูร
  • พ.ศ. 2541 – 2544 แพทย์หญิงศรีวิไล ตันประเสริฐ
  • พ.ศ. 2544 – 2549 แพทย์หญิงรัชนี โอเจริญ
  • พ.ศ. 2549 – 2559 แพทย์หญิงสร้อยสอางค์ พิกุลสด
  • พ.ศ. 2559 – 2562 นาวาโทหญิงแพทย์หญิงอุบลวัณณ์ จรูญเรืองฤทธิ์
  • พ.ศ. 2562 – 2563 ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ชัยเวช นุชประยูร
  • พ.ศ. 2563 – ปัจจุปัน รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงดุจใจ ชัยวานิชศิริ

โครงสร้างศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ

  • รูปโครงสร้างศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ [4]

หน้าที่ของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติปัจจุบัน

  • จัดหาโลหิตและส่วนประกอบโลหิต เพื่อจ่ายให้กับโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนทั้งในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัด
  • จัดทำอุปกรณ์เจาะเก็บโลหิต เช่น ถุงบรรจุโลหิต
  • ผลิตน้ำยาตรวจหมู่โลหิตเพื่อใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วประเทศ
  • ผลิตผลิตภัณฑ์โลหิตเพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วย
  • จัดทำแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสาขาบริการโลหิตทั่วประเทศ
  • ให้การช่วยเหลือด้านการบริการโลหิตแก่ธนาคารโลหิตโรงพยาบาลต่าง ๆ
  • จัดการอบรมระยะสั้นงานบริการโลหิตให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานทางธนาคารโลหิต
  • จัดตั้งภาคบริการโลหิตแห่งชาติ ให้ครบวงจร 12 ภาคทั่วประเทศ

ภาคบริการโลหิตแห่งชาติ

  • ดำเนินงาน รับบริจาคโลหิต ตรวจคัดกรองโลหิต ตรวจ NAT ปั่นแยกส่วนประกอบโลหิต และจ่ายโลหิต ให้กับโรงพยาบาลเครือข่าย ได้แก่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 2 จังหวัดลพบุรี แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 3 จังหวัดชลบุรี แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 4 จังหวัดราชบุรี แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 6 จังหวัดขอนแก่น แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์ แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 10 จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 11 อำเภอทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 12 อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แผนที่
    • ภาคบริการโลหิตแห่งชาติจังหวัดภูเก็ต แผนที่
  • ดำเนินงานรับบริจาคโลหิตเพียงอย่างเดียว
    • งานบริการโลหิต สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ จ.ประจวบคีรีขันธ์ แผนที่

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย