ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาริเนอร์ 10"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
[[หมวดหมู่:ภารกิจสู่ดาวศุกร์]]
[[หมวดหมู่:ภารกิจสู่ดาวศุกร์]]
[[หมวดหมู่:ดาวเทียมโคจรรอบดวงอาทิตย์]]
[[หมวดหมู่:ดาวเทียมโคจรรอบดวงอาทิตย์]]
{{ยานสำรวจดวงจันทร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงการมาริเนอร์ | ก่อน=[[ยานอวกาศมาริเนอร์ 9|มาริเนอร์ 9]] | หลัง=[[ยานอวกาศวอยเอเจอร์ 1|วอยเอเจอร์ 1]] }}
{{โครงการมาริเนอร์ | ก่อน=[[ยานอวกาศมาริเนอร์ 9|มาริเนอร์ 9]] | หลัง=[[ยานอวกาศวอยเอเจอร์ 1|วอยเอเจอร์ 1]] }}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:22, 1 สิงหาคม 2563

มาริเนอร์ 10
ภาพยาน มาริเนอร์ 10
ประเภทภารกิจสำรวจดาวเคราะห์
ผู้ดำเนินการNASA / JPL
COSPAR ID1973-085A[1]
SATCAT no.6919[1]
ระยะภารกิจ1 ปี, 4 เดือน, 21 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตห้องปฏิบัติการทดลองขับเคลื่อนเจ็ท
มวลขณะส่งยาน502.9 กิโลกรัม (1,109 ปอนด์)
กำลังไฟฟ้า820 วัตต์ (ตอนอยู่ที่ดาวศุกร์)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นNovember 3, 1973, 05:45:00 (1973-11-03UTC05:45Z) UTC
จรวดนำส่งAtlas SLV-3D Centaur-D1A
ฐานส่งCape Canaveral LC-36B
สิ้นสุดภารกิจ
การกำจัดถูกปลด
ปิดการทำงานแม่แบบ:End-date
บินผ่านดาวศุกร์
เข้าใกล้สุด5 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1974
ระยะทาง5,768 กิโลเมตร (3,584 ไมล์)*
บินผ่านดาวพุธ
เข้าใกล้สุด29 มีนาคม ค.ศ.1974
ระยะทาง704 กิโลเมตร (437 ไมล์)*
บินผ่านดาวพุธ
เข้าใกล้สุด21 กันยายน ค.ศ.1974
ระยะทาง48,069 กิโลเมตร (29,869 ไมล์)*
บินผ่านดาวพุธ
เข้าใกล้สุด16 มีนาคม ค.ศ.1975
ระยะทาง327 กิโลเมตร (203 ไมล์)*
 

ยานอวกาศมาริเนอร์ 10 เป็นยานอวกาศลำเดียวที่ไปสำรวจดาวพุธ และเป็นยานอวกาศลำแรกที่สำรวจดาวเคราะห์มากกว่าหนึ่งดวง ระหว่างทางไปดาวพุธได้ถ่ายภาพเมฆบนดาวศุกร์ หลังจากนั้น ก็ไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้สามารถผ่านใกล้ดาวพุธ 3 ครั้ง ใน ค.ศ. 1974 และ 1975 และบันทึกภาพแล้วส่งกลับมายังโลกได้ 2,700 ภาพ ครอบคลุมพื้นผิว 1 ใน 3 ของดาวพุธ นอกจากนี้ ยังได้ตรวจวัดสนามแม่เหล็ก และอุณหภูมิพื้นผิวของดาวพุธ


 

โครงการมาริเนอร์ ยานมาริเนอร์ 2
ภารกิจก่อนหน้า: มาริเนอร์ 9 ภารกิจต่อไป: วอยเอเจอร์ 1
มาริเนอร์ 1 | มาริเนอร์ 2 | มาริเนอร์ 3 | มาริเนอร์ 4 | มาริเนอร์ 5 | มาริเนอร์ 6 และ 7 | มาริเนอร์ 8 | มาริเนอร์ 9 | มาริเนอร์ 10
  1. 1.0 1.1 "Mariner 10". National Space Science Data Center. National Aeronautics and Space Administration. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.