ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟีนิกซ์ (ยานอวกาศ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
ในวันที่ [[10 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2551]] [[นาซา]]ไม่สามารถติดต่อกับยานฟีนิกซ์ได้<ref name="BBC_NASA_Mission_Declared_Dead">{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7721032.stm|title=NASA Mars Mission declared dead|accessdate=2008-11-10|publisher=BBC|date=November 10, 2008|first=Jonathan|last=Amos}}</ref> เป็นเพราะยานไม่สามารถชาร์จพลังงานจากดวงอาทิตย์ได้ (เกิดจากสภาวะแวดล้อมของดาว) ทำให้[[นาซา]]สูญเสียยานฟีนิกซ์ก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม นับว่าโครงการนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงเพราะมันได้ทำการทดสอบทางด้านวิทยาศาสตร์ได้สำเร็จในทุกรายการที่ได้วางแผนไว้<ref name=discovery>{{cite news|title=Dear Phoenix lander, will you raise from the dead?|url=http://news.discovery.com/space/dear-phoenix-mars-lander-will-you-rise-from-the-dead.html|newspaper=Discovery}}</ref>
ในวันที่ [[10 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2551]] [[นาซา]]ไม่สามารถติดต่อกับยานฟีนิกซ์ได้<ref name="BBC_NASA_Mission_Declared_Dead">{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7721032.stm|title=NASA Mars Mission declared dead|accessdate=2008-11-10|publisher=BBC|date=November 10, 2008|first=Jonathan|last=Amos}}</ref> เป็นเพราะยานไม่สามารถชาร์จพลังงานจากดวงอาทิตย์ได้ (เกิดจากสภาวะแวดล้อมของดาว) ทำให้[[นาซา]]สูญเสียยานฟีนิกซ์ก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม นับว่าโครงการนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงเพราะมันได้ทำการทดสอบทางด้านวิทยาศาสตร์ได้สำเร็จในทุกรายการที่ได้วางแผนไว้<ref name=discovery>{{cite news|title=Dear Phoenix lander, will you raise from the dead?|url=http://news.discovery.com/space/dear-phoenix-mars-lander-will-you-rise-from-the-dead.html|newspaper=Discovery}}</ref>


ในปี [[พ.ศ. 2552]] นาซามีโครงการส่งยานสำรวจดาวอังคารหลังจากยานฟีนิกซ์ ชื่อว่า [[:en:Mars Science Laboratory|Mars Science Laboratory]]
ในปี [[พ.ศ. 2552]] นาซามีโครงการส่งยานสำรวจดาวอังคารหลังจากยานฟีนิกซ์ ชื่อว่า [[คิวริออซิตี (โรเวอร์)|Mars Science Laboratory]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:15, 31 กรกฎาคม 2563

ฟีนิกซ์
COSPAR ID2007-034A
SATCAT no.32003แก้ไขบนวิกิสนเทศ
 
สัญญาลักษณ์โครงการฟีนิกซ์

ยานฟีนิกซ์ (อังกฤษ: Phoenix Spacecraft) เป็นยานสำรวจดาวอังคารของโครงการสำรวจดาวอังคาร ยานลำนี้มีภารกิจหลักในการสำรวจสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับชืวิตขนาดเล็กและเพื่อสำรวจประวัติศาสตร์ของน้ำบนดาว เพื่อเป็นข้อมูลว่าดาวอังคารเคยมีแหล่งน้ำบนดาวมาก่อนหรือไม่อย่างไร

ยานฟีนิกซ์ถูกปล่อยในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ด้วยจรวดเดลต้าทู 7925 ของนาซา ยานเดินทางมาถึงและลงจอดในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ณ บริเวณขั้วโลกเหนือของดาวอังคาร

ยานลำนี้ได้รับการออกแบบให้มีแขนกล ใช้ในการตักดินทรายที่อยู่บริเวณรอบๆ ยาน และยานยังมีเตาสำหรับทดลองปฏิกิริยาทางเคมี ใช้สำหรับทดสอบดินบนดาวเพื่อหาสารประกอบของน้ำ โดยใช้แขนกลของยานตักและเทลงในเตา นอกจากนี้ยานยังมีกล้องสำหรับถ่ายภาพบนดาว โดยยานฟีนิกซ์ใช้พลังงานจากการชาร์จพลังงานจากแผงโซล่าเซลของยาน

ฟีนิกซ์ถูกออกแบบให้ปฏิบัติภารกิจเพียงแค่สามเดือน และข้อมูลที่ได้จากการสำรวจครบตามที่ต้องการ แต่หลังจากสามเดือนยานยังสามารถทำงานต่อได้อีกกว่าสองเดือน ทางโครงการจึงเพิ่มงบประมาณการสำรวจ ดังนั้นโครงการนี้จึงเลื่อนระยะเวลาออกไปจนถึงสิ้นปี พ.ศ. 2551

ในวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 นาซาไม่สามารถติดต่อกับยานฟีนิกซ์ได้[2] เป็นเพราะยานไม่สามารถชาร์จพลังงานจากดวงอาทิตย์ได้ (เกิดจากสภาวะแวดล้อมของดาว) ทำให้นาซาสูญเสียยานฟีนิกซ์ก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม นับว่าโครงการนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงเพราะมันได้ทำการทดสอบทางด้านวิทยาศาสตร์ได้สำเร็จในทุกรายการที่ได้วางแผนไว้[3]

ในปี พ.ศ. 2552 นาซามีโครงการส่งยานสำรวจดาวอังคารหลังจากยานฟีนิกซ์ ชื่อว่า Mars Science Laboratory

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 Nelson, Jon. "Phoenix". NASA. สืบค้นเมื่อ February 2, 2014.
  2. Amos, Jonathan (November 10, 2008). "NASA Mars Mission declared dead". BBC. สืบค้นเมื่อ 2008-11-10.
  3. "Dear Phoenix lander, will you raise from the dead?". Discovery.