ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลงหน่วยอุณหภูมิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Phisisbunon (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการสะกดคำ
บรรทัด 189: บรรทัด 189:
== องศานิวตัน ==
== องศานิวตัน ==
[[ไฟล์:Isaac Newton, English School, 1715-20.jpg|thumb|211x211px|เซอร์ไอแชค นิวตัน ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศานิวตัน และผู้ค้นพบแรงโน้มถ่วง]]
[[ไฟล์:Isaac Newton, English School, 1715-20.jpg|thumb|211x211px|เซอร์ไอแชค นิวตัน ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศานิวตัน และผู้ค้นพบแรงโน้มถ่วง]]
[[องศานิวตัน]]<ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Newton_scale</ref> ([[อังกฤษ]]: Newton Scale, สัญลักษณ์: °N) คือ หน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ.1701 โดย[[เซอร์ไอแซก นิวตัน]] นักฟิสิกส์ผู้คิดค้นแรงโน้มถ่วง และแคลคูลัส นิวตันเป็นคนแรกที่เรียกเครื่องมือวัดอุณหภูมิของตนเองว่า เทอร์โมมิเตอร์ โดยกำหนด 0°N เป็นจุดเยือกแข็งของน้ำ และ 33°N เป็นจุดเดือดของน้ำ เป็นหน่วยอุณหภูมิแรกที่มีการกำหนดตัวเลขอุณหภูมิอย่างชัดเจนร่วมกับองศาเรอเมอร์ (ตีพิมพ์ในเวลาไล่เรี่ยกัน) อุณหภูมิเพิ่ม 1°N คือ 3.03°C
[[องศานิวตัน]]<ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Newton_scale</ref> ([[อังกฤษ]]: Newton Scale, สัญลักษณ์: °N) คือ หน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ.1701 โดย[[เซอร์ไอแซก นิวตัน]] นักฟิสิกส์ผู้คิดค้นแรงโน้มถ่วง และแคลคูลัส นิวตันเป็นคนแรกที่เรียกเครื่องมือวัดอุณหภูมิของตนเองว่า เทอร์โมมิเตอร์ โดยกำหนด 0°N เป็นจุดเยือกแข็งของน้ำ และ 33°N เป็นจุดเดือดของน้ำ เป็นหน่วยอุณหภูมิแรกที่มีการกำหนดตัวเลขอุณหภูมิอย่างชัดเจนร่วมกับองศาเรอเมอร์ (ตีพิมพ์ในเวลาไล่เลี่ยกัน) อุณหภูมิเพิ่ม 1°N คือ 3.03°C
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
!
!

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:55, 18 กรกฎาคม 2563

การแปลงหน่วยอุณหภูมิ คือการแปลงข้อมูลอุณหภูมิในหน่วยอุณหภูมิหนึ่ง ให้กลางเป็นอีกหน่วยอุณหภูมิหนึ่ง อาทิ เช่น 0 องศาเซลเซียส เป็น 32 องศาฟาเรนไฮต์ ซึ่งต้องใข้สูตรทางคณิตศาสตร์ในการแก้ ในที่นี้มีหน่วยอุณภูมิในการแปลงอยู่ 8 หน่วย ประกอบด้วย เซลเซียส, ฟาเรนต์ไฮต์, เคลวิน, เดลิเซิล, นิวตัน, แรงคิน, โรเมอร์ และ เรอเมอร์

องศาเซลเซียส

แอนเดอร์ เซลเซียส ผู้คิดค้นหน่วยวัดองศาเซลเซียส

องศาเซลเซียส (อังกฤษ:Celcius, สัญลักษณ์: °C) ตั้งตามชื่อของนักดาราศาสตร์ชาวสวีเดน นายแอนเดอร์ เซลเซียส (Anders Celsius) เป็นคนแรกที่เสนอระบบที่ใกล้เคียงกับระบบนี้ (องศาเซนติเกรด) นี้ ในปี พ.ศ. 2285 (ค.ศ. 1742) กำหนดอุณหภูมิจุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 องศา และจุดเดือดของน้ำคือ 100 องศาเซลเซียส ที่ระดับความดันบรรยากาศมาตรฐาน[1] ในปัจจุบันองศาเซลเซียสใช้กับแพร่หลายทั่วโลกในชีวิตประจำวัน ยกเว้นประเทศสหรัฐอเมริกา และ ประเทศไลบีเรีย รวมถึงประเทศที่ใช้บริการทางอุตุนิยมวิทยา และ ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรฯ เท่านั้นที่นิยมใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ แต่องศาเซลเซียสใช้ในวงการวิทยาศาสตร์ทั่วโลกอย่างเป็นสากล[2]

จากองศาเซลเซียส แปลงให้เป็นองศาเซลเซียส
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = [°C] × ​95 + 32 [°C] = ([°F] − 32) × ​59
เคลวิน [K] = [°C] + 273.15 [°C] = [K] − 273.15
องศาแรงคิน [°R] = ([°C] + 273.15) × ​95 [°C] = ([°R] − 491.67) × ​59
องศาเดลิเซิล [°De] = (100 − [°C]) × ​32 [°C] = 100 − [°De] × ​23
องศานิวตัน [°N] = [°C] × ​33100 [°C] = [°N] × ​10033
องศาโรเมอร์ [°Ré] = [°C] × ​45 [°C] = [°Ré] × ​54
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = [°C] × ​2140 + 7.5 [°C] = ([°Rø] − 7.5) × ​4021

องศาฟาเรนไฮต์

กาเบรียล ฟาเรนไฮต์ ผู้คิดค้นมาตรวัดองศาฟาเรนไฮต์

องศาฟาเรนไฮต์ (อังกฤษ:Fahrenheit, สัญลักษณ์: °F) คือหน่วยมาตรวัดอุณหภูมิชนิดหนึ่ง ตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน กาเบรียล ฟาเรนไฮต์ (1686-1736) ผู้เสนอระบบมาตรวัดอุณหภูมินี้เมื่อปี ค.ศ.1724 โดยที่ค่าสเกลองศาฟาเรนไฮต์มีจุดอ้างอิงต่ำสุด 0°F เป็นอุณหภูมิจุดเยือกแข็งของ น้ำ น้ำแข็ง และ เกลือแอมโมเนียมคลอไรด์ องศาฟาเรนไฮต์เป็นมาตรวัดอุณหภูมิแรกที่มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ในปัจจุบัน องศาฟาเรนต์ไฮต์ใช้จุดแข็งและจุดเดือดของน้ำเป็นจุดอ้างอิง โดยมีจุดเยือกแข็งอยู่ที่ 32°F และ มีจุดเดือดที่ 212°F โดยที่มีระยะห่างระหว่างจุดเยือกแข็งกับจุดเดือดของน้ำคือ 180 องศา ณ ความดันบรรยากาศมาตรฐาน ณ ระดับน้ำทะเล ฟาเรนไฮต์เป็นมาตรวัดอุณหภูมิอย่างเป็นทางการในสหรัฐอเมริกา และประเทศที่ใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ดินแดนหมู่เกาะที่เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร และ ประเทศไลบีเรีย

จากองศาองศาฟาเรนไฮต์ แปลงให้เป็นองศาองศาฟาเรนไฮต์
องศาเซลเซียส [°C] = ([°F] − 32) × ​59 [°F] = [°C] × ​95 + 32
เคลวิน [K] = ([°F] + 459.67) × ​59 [°F] = [K] × ​95 − 459.67
องศาแรงคิน [°R] = [°F] + 459.67 [°F] = [°R] − 459.67
องศาเดลิเซิล [°De] = (212 − [°F]) × ​56 [°F] = 212 − [°De] × ​65
องศานิวตัน [°N] = ([°F] − 32) × ​1160 [°F] = [°N] × ​6011 + 32
องศาโรเมอร์ [°Ré] = ([°F] − 32) × ​49 [°F] = [°Ré] × ​94 + 32
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = ([°F] − 32) × ​724 + 7.5 [°F] = ([°Rø] − 7.5) × ​247 + 32

เคลวิน

ลอร์ดเคลวิน ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิเคลวิน ซึ่งกลายเป็นระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI Unit) ในเวลาต่อมา

เคลวิน (อังกฤษ: kelvin, สัญลักษณ์: K) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหนึ่ง และเป็นหน่วยพื้นฐานหนึ่งในเจ็ดของระบบเอสไอ นิยามให้เท่ากับ 1/273.16 เท่าของอุณหภูมิเทอร์โมไดนามิกของจุดสามสถานะของน้ำ เคลวินตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแต่นักฟิสิกส์และวิศวกรชาวอังกฤษ วิลเลียม ทอมสัน บารอนที่หนึ่งแห่ง เคลวิน (William Thomson, 1st Baron Kelvin) เคลวิน เป็นหน่วยของหน่วยวัดอุณหภูมิหนึ่ง ที่ลอร์เควิน ได้พัฒนาคิดสเกลขึ้นใหม่ โดยหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความเร็วของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส โดยสังเกตว่าถ้าให้ความร้อนกับสสารมากขึ้น อิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากขึ้น ทำให้เคลื่อนที่มีความเร็วมากขึ้น ในทางกลับกันถ้าลดความร้อนให้กับสสาร อิเล็กตรอนก็จะมีพลังงานน้อยลง ทำให้การเคลื่อนที่ลดลง และถ้าสามารถลดอุณหภูมิลงจนถึงจุดที่อิเล็กตรอนหยุดการเคลื่อนที่ ณ จุดนั้น จะไม่มีอุณหภูมิหรือพลังงานในสสารเลย และจะไม่มีการแผ่รังสีความร้อนจากวัตถุ จึงเรียกอุณหภูมิ ณ จุดนี้ว่า ศูนย์สัมบูรณ์ (0 K) อุณหภูมิเพิ่ม 1 K มีค่าเท่ากับ 1°C

จากเคลวิน แปลงให้เป็นเคลวิน
องศาเซลเซียส [°C] = [K] − 273.15 [K] = [°C] + 273.15
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = [K] × ​95 − 459.67 [K] = ([°F] + 459.67) × ​59
องศาแรงคิน [°R] = [K] × ​95 [K] = [°R] × ​59
องศาเดลิเซิล [°De] = (373.15 − [K]) × ​32 [K] = 373.15 − [°De] × ​23
องศานิวตัน [°N] = ([K] − 273.15) × ​33100 [K] = [°N] × ​10033 + 273.15
องศาโรเมอร์ [°Ré] = ([K] − 273.15) × ​45 [K] = [°Ré] × ​54 + 273.15
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = ([K] − 273.15) × ​2140 + 7.5 [K] = ([°Rø] − 7.5) × ​4021 + 273.15

องศาแรงคิน

William John Macquorn Rankine

องศาแรงคิน (อังกฤษ: Rankine Scale, สัญลักษณ์: °Ra) คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นโดยวิศวกรช่างกลชาวสก็อตแลนด์ ชือ นายวิลเลียม แรงคิน (William Rankine) ผู้ร่วมก่อตั้งสาขาวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ เป็นมาตรวัดอุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิกส์ในหน่วยวัดแบบอังกฤษ ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1859 ใช้วัดอุณหภูมิพลศาสตร์และเอนโทรปี มีจุดเยือกแข็งของน้ำที่ 491.67 R และจุดการกลายเป็นไอน้ำที่ 671.67 R ส่วนอุณหภูมิต่ำที่สุดของ Rankine Scale คือ 0 R ณ จุดนั้น จะไม่มีอุณหภูมิหรือพลังงานในสสารเลย และจะไม่มีการแผ่รังสีความร้อนจากวัตถุ จึงเรียกอุณหภูมิ ณ จุดนี้ว่า ศูนย์สัมบูรณ์ (0 K หรือ 0 R) มีความคล้ายคลึงกับเคลวินอย่างมาก เพราะมีจุดกำเนิดร่วมกัน แต่ต่างกันตรงที่องศาแรงคินมีองศาฟาเรนไฮต์เป็นแม่แบบ อุณหภูมิเพิ่ม 1 °Ra มีค่าเท่ากับ 1°F

จากองศาแรงคิน แปลงให้เป็นองศาแรงคิน
องศาเซลเซียส [°C] = ([°R] − 491.67) × ​59 [°R] = ([°C] + 273.15) × ​95
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = [°R] − 459.67 [°R] = [°F] + 459.67
เคลวิน [K] = [°R] × ​59 [°R] = [K] × ​95
องศาเดลิเซิล [°De] = (671.67 − [°R]) × ​56 [°R] = 671.67 − [°De] × ​65
องศานิวตัน [°N] = ([°R] − 491.67) × ​1160 [°R] = [°N] × ​6011 + 491.67
องศาโรเมอร์ [°Ré] = ([°R] − 491.67) × ​49 [°R] = [°Ré] × ​94 + 491.67
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = ([°R] − 491.67) × ​724 + 7.5 [°R] = ([°Rø] − 7.5) × ​247 + 491.67

องศาเดลิเซิล

โจเซฟ-นิโคลัส เดลิเซิล ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศาเดลิเซิล

องศาเดลิเซิล (อังกฤษ:Delisle ,สัญลักษณ์: °D) คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1732 โดยนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โจเซฟ-นิโคลัส เดลิเซิล (Joseph-Nicolas Delisle) โดยวัดจุดเดือดของน้ำเป็น 0°D และจุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 150°D เป็นหน่วยที่นิยมใช้ในจักรวรรดิรัสเชียในอดีตเป็นเวลากว่า 100 ปี โดยมีผู้ใช้ที่มีชื่อเสียงในวงการวิทยาศาสตร์คือ มิคาอิล โลโมโนซอฟ (Mikhail Lomonosov) นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย ผู้ค้นพบกฎการอนุรักษ์มวล[3]ในปฏิกิริยาเคมี เป็นหน่วยการวัดอุณหภูมิที่แปลกกว่าหน่วยวัดอื่น ๆ เพราะ ยิ่งอุณหภูมิในหน่วยองศาเดลิเซิลสูงขึ้น อากาศจะยิ่งเย็นลง สวนทางกับมาตรวัดแบบอื่น ๆ

จากองศาเดลิเซิล แปลงให้เป็นองศาเดลิเซิล
องศาเซลเซียส [°C] = 100 − [°De] × ​23 [°De] = (100 − [°C]) × ​32
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = 212 − [°De] × ​65 [°De] = (212 − [°F]) × ​56
เคลวิน [K] = 373.15 − [°De] × ​23 [°De] = (373.15 − [K]) × ​32
องศาแรงคิน [°R] = 671.67 − [°De] × ​65 [°De] = (671.67 − [°R]) × ​56
องศานิวตัน [°N] = 33 − [°De] × ​1150 [°De] = (33 − [°N]) × ​5011
องศาโรเมอร์ [°Ré] = 80 − [°De] × ​815 [°De] = (80 − [°Ré]) × ​158
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = 60 − [°De] × ​720 [°De] = (60 − [°Rø]) × ​207

องศานิวตัน

เซอร์ไอแชค นิวตัน ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศานิวตัน และผู้ค้นพบแรงโน้มถ่วง

องศานิวตัน[4] (อังกฤษ: Newton Scale, สัญลักษณ์: °N) คือ หน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ.1701 โดยเซอร์ไอแซก นิวตัน นักฟิสิกส์ผู้คิดค้นแรงโน้มถ่วง และแคลคูลัส นิวตันเป็นคนแรกที่เรียกเครื่องมือวัดอุณหภูมิของตนเองว่า เทอร์โมมิเตอร์ โดยกำหนด 0°N เป็นจุดเยือกแข็งของน้ำ และ 33°N เป็นจุดเดือดของน้ำ เป็นหน่วยอุณหภูมิแรกที่มีการกำหนดตัวเลขอุณหภูมิอย่างชัดเจนร่วมกับองศาเรอเมอร์ (ตีพิมพ์ในเวลาไล่เลี่ยกัน) อุณหภูมิเพิ่ม 1°N คือ 3.03°C

จากองศานิวตัน แปลงให้เป็นองศานิวตัน
องศาเซลเซียส [°C] = [°N] × ​10033 [°N] = [°C] × ​33100
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = [°N] × ​6011 + 32 [°N] = ([°F] − 32) × ​1160
เคลวิน [K] = [°N] × ​10033 + 273.15 [°N] = ([K] − 273.15) × ​33100
องศาแรงคิน [°R] = [°N] × ​6011 + 491.67 [°N] = ([°R] − 491.67) × ​1160
องศาเดลิเซิล [°De] = (33 − [°N]) × ​5011 [°N] = 33 − [°De] × ​1150
องศาโรเมอร์ [°Ré] = [°N] × ​8033 [°N] = [°Ré] × ​3380
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = [°N] × ​3522 + 7.5 [°N] = ([°Rø] − 7.5) × ​2235

องศาโรเมอร์

เรอเน อ็องตวน แฟร์โชล เดอ เรโอมูร์ ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศาโรเมอร์

องศาเรโอมูร์ (อังกฤษ: Réaumur Scale/degree; สัญลักษณ์:°Ré, °Re, °R) หรือในไทยนิยมเรียกว่า องศาโรเมอร์ คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นโดย เรอเน อ็องตวน แฟร์โชล เดอ เรโอมูร์ (René Antoine Ferchault de Réaumur) นักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1731 โดยกำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 0°Ré และจุดเดือดของน้ำอยู่ที่ 80°Ré ดังนั้นช่วงอุณหภูมิ 1 °Ré จะเท่ากับ 1.25°C กำหนดจุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 0°Ré และจุดเดือดที่ 80°Ré

จากองศาโรเมอร์ จากองศาโรเมอร์
องศาเซลเซียส [°C] = [°Ré] × ​54 [°Ré] = [°C] × ​45
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = [°Ré] × ​94 + 32 [°Ré] = ([°F] − 32) × ​49
เคลวิน [K] = [°Ré] × ​54 + 273.15 [°Ré] = ([K] − 273.15) × ​45
องศาแรงคิน [°R] = [°Ré] × ​94 + 491.67 [°Ré] = ([°R] − 491.67) × ​49
องศาเดลิเซิล [°De] = (80 − [°Ré]) × ​158 [°Ré] = 80 − [°De] × ​815
องศานิวตัน [°N] = [°Ré] × ​3380 [°Ré] = [°N] × ​8033
องศาเรอเมอร์ [°Rø] = [°Ré] × ​2132 + 7.5 [°Ré] = ([°Rø] − 7.5) × ​3221

องศาเรอเมอร์

โอเล คริสเตนเซน เรอเมอร์ ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศาเรอเมอร์

องศาเรอเมอร์ (อังกฤษ: Rømer Scale, สัญลักษณ์: °Rø) คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเดนมาร์ก โอเล คริสเตนเซน เรอเมอร์ (Ole Christensen Rømer) โดยตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ.1701 ไล่เรี่ยกันกับองศานิวตัน โดยกำหนดให้ 7.5°Rø เป็นจุดเยือกแข็งของน้ำ และ 60°Rø เป็นจุดเดือดของน้ำ โดย 0°Rø คือจุดเยือกแข็งของน้ำ น้ำแข็ง และ เกลือแอมโมเนียมคลอไรด์ (คล้ายกับฟาเรนไฮต์) โดยอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1°Rø คือ 40/21°C เป็นหน่วยอุณหภูมิแรกที่มีการกำหนดตัวเลขอุณหภูมิอย่างชัดเจนร่วมกับองศานิวตัน (ก่อนหน้านั้น เทอร์โมมิเตอร์วัดได้แค่ร้อนหรือเย็นเท่านั้น)

จากองศาเรอเมอร์ แปลงให้เป็นองศาเรอเมอร์
องศาเซลเซียส [°C] = ([°Rø] − 7.5) × ​4021 [°Rø] = [°C] × ​2140 + 7.5
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = ([°Rø] − 7.5) × ​247 + 32 [°Rø] = ([°F] − 32) × ​724 + 7.5
เคลวิน [K] = ([°Rø] − 7.5) × ​4021 + 273.15 [°Rø] = ([K] − 273.15) × ​2140 + 7.5
องศาแรงคิน [°R] = ([°Rø] − 7.5) × ​247 + 491.67 [°Rø] = ([°R] − 491.67) × ​724 + 7.5
องศาเดลิเซิล [°De] = (60 − [°Rø]) × ​207 [°Rø] = 60 − [°De] × ​720
องศานิวตัน [°N] = ([°Rø] − 7.5) × ​2235 [°Rø] = [°N] × ​3522 + 7.5
องศาโรเมอร์ [°Ré] = ([°Rø] − 7.5) × ​3221 [°Rø] = [°Ré] × ​2132 + 7.5

ตารางเปรียบเทียบ

องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ เคลวิน องศาแรงคิน องศาเดลิเซิล องศานิวตัน องศาโรเมอร์ องศาเรอเมอร์
500.00 932.00 773.15 1391.67 −600.00 165.00 400.00 270.00
490.00 914.00 763.15 1373.67 −585.00 161.70 392.00 264.75
480.00 896.00 753.15 1355.67 −570.00 158.40 384.00 259.50
470.00 878.00 743.15 1337.67 −555.00 155.10 376.00 254.25
460.00 860.00 733.15 1319.67 −540.00 151.80 368.00 249.00
450.00 842.00 723.15 1301.67 −525.00 148.50 360.00 243.75
440.00 824.00 713.15 1283.67 −510.00 145.20 352.00 238.50
430.00 806.00 703.15 1265.67 −495.00 141.90 344.00 233.25
420.00 788.00 693.15 1247.67 −480.00 138.60 336.00 228.00
410.00 770.00 683.15 1229.67 −465.00 135.30 328.00 222.75
400.00 752.00 673.15 1211.67 −450.00 132.00 320.00 217.50
390.00 734.00 663.15 1193.67 −435.00 128.70 312.00 212.25
380.00 716.00 653.15 1175.67 −420.00 125.40 304.00 207.00
370.00 698.00 643.15 1157.67 −405.00 122.10 296.00 201.75
360.00 680.00 633.15 1139.67 −390.00 118.80 288.00 196.50
350.00 662.00 623.15 1121.67 −375.00 115.50 280.00 191.25
340.00 644.00 613.15 1103.67 −360.00 112.20 272.00 186.00
330.00 626.00 603.15 1085.67 −345.00 108.90 264.00 180.75
320.00 608.00 593.15 1067.67 −330.00 105.60 256.00 175.50
310.00 590.00 583.15 1049.67 −315.00 102.30 248.00 170.25
300.00 572.00 573.15 1031.67 −300.00 99.00 240.00 165.00
290.00 554.00 563.15 1013.67 −285.00 95.70 232.00 159.75
280.00 536.00 553.15 995.67 −270.00 92.40 224.00 154.50
270.00 518.00 543.15 977.67 −255.00 89.10 216.00 149.25
260.00 500.00 533.15 959.67 −240.00 85.80 208.00 144.00
250.00 482.00 523.15 941.67 −225.00 82.50 200.00 138.75
240.00 464.00 513.15 923.67 −210.00 79.20 192.00 133.50
230.00 446.00 503.15 905.67 −195.00 75.90 184.00 128.25
220.00 428.00 493.15 887.67 −180.00 72.60 176.00 123.00
210.00 410.00 483.15 869.67 −165.00 69.30 168.00 117.75
200.00 392.00 473.15 851.67 −150.00 66.00 160.00 112.50
190.00 374.00 463.15 833.67 −135.00 62.70 152.00 107.25
180.00 356.00 453.15 815.67 −120.00 59.40 144.00 102.00
170.00 338.00 443.15 797.67 −105.00 56.10 136.00 96.75
160.00 320.00 433.15 779.67 −90.00 52.80 128.00 91.50
150.00 302.00 423.15 761.67 −75.00 49.50 120.00 86.25
140.00 284.00 413.15 743.67 −60.00 46.20 112.00 81.00
130.00 266.00 403.15 725.67 −45.00 42.90 104.00 75.75
120.00 248.00 393.15 707.67 −30.00 39.60 96.00 70.50
110.00 230.00 383.15 689.67 −15.00 36.30 88.00 65.25
100.00 212.00 373.15 671.67 0.00 33.00 80.00 60.00
90.00 194.00 363.15 653.67 15.00 29.70 72.00 54.75
80.00 176.00 353.15 635.67 30.00 26.40 64.00 49.50
70.00 158.00 343.15 617.67 45.00 23.10 56.00 44.25
60.00 140.00 333.15 599.67 60.00 19.80 48.00 39.00
50.00 122.00 323.15 581.67 75.00 16.50 40.00 33.75
40.00 104.00 313.15 563.67 90.00 13.20 32.00 28.50
30.00 86.00 303.15 545.67 105.00 9.90 24.00 23.25
20.00 68.00 293.15 527.67 120.00 6.60 16.00 18.00
10.00 50.00 283.15 509.67 135.00 3.30 8.00 12.75
0.00 32.00 273.15 491.67 150.00 0.00 0.00 7.50
−10.00 14.00 263.15 473.67 165.00 −3.30 −8.00 2.25
−20.00 −4.00 253.15 455.67 180.00 −6.60 −16.00 −3.00
−30.00 −22.00 243.15 437.67 195.00 −9.90 −24.00 −8.25
−40.00 −40.00 233.15 419.67 210.00 −13.20 −32.00 −13.50
−50.00 −58.00 223.15 401.67 225.00 −16.50 −40.00 −18.75
−60.00 −76.00 213.15 383.67 240.00 −19.80 −48.00 −24.00
−70.00 −94.00 203.15 365.67 255.00 −23.10 −56.00 −29.25
−80.00 −112.00 193.15 347.67 270.00 −26.40 −64.00 −34.50
−90.00 −130.00 183.15 329.67 285.00 −29.70 −72.00 −39.75
−100.00 −148.00 173.15 311.67 300.00 −33.00 −80.00 −45.00
−110.00 −166.00 163.15 293.67 315.00 −36.30 −88.00 −50.25
−120.00 −184.00 153.15 275.67 330.00 −39.60 −96.00 −55.50
−130.00 −202.00 143.15 257.67 345.00 −42.90 −104.00 −60.75
−140.00 −220.00 133.15 239.67 360.00 −46.20 −112.00 −66.00
−150.00 −238.00 123.15 221.67 375.00 −49.50 −120.00 −71.25
−160.00 −256.00 113.15 203.67 390.00 −52.80 −128.00 −76.50
−170.00 −274.00 103.15 185.67 405.00 −56.10 −136.00 −81.75
−180.00 −292.00 93.15 167.67 420.00 −59.40 −144.00 −87.00
−190.00 −310.00 83.15 149.67 435.00 −62.70 −152.00 −92.25
−200.00 −328.00 73.15 131.67 450.00 −66.00 −160.00 −97.50
−210.00 −346.00 63.15 113.67 465.00 −69.30 −168.00 −102.75
−220.00 −364.00 53.15 95.67 480.00 −72.60 −176.00 −108.00
−230.00 −382.00 43.15 77.67 495.00 −75.90 −184.00 −113.25
−240.00 −400.00 33.15 59.67 510.00 −79.20 −192.00 −118.50
−250.00 −418.00 23.15 41.67 525.00 −82.50 −200.00 −123.75
−260.00 −436.00 13.15 23.67 540.00 −85.80 −208.00 −129.00
−270.00 −454.00 3.15 5.67 555.00 −89.10 −216.00 −134.25
−273.15 −459.67 0.00 0.00 559.725 −90.1395 −218.52 −135.90375
องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ เคลวิน องศาแรงคิน องศาเดลิเซิล องศานิวตัน องศาโรเมอร์ องศาเรอเมอร์

การเปรียบเทียบอุณหภูมิ

ตารางการเปรียบเทียบอุณหภูมิในมาตรวัดต่าง ๆ
เคลวิน องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ องศาแรงคิน องศาเดลิเซิล องศานิวตัน องศาโรเมอร์ องศาเรอเมอร์
ศูนย์สัมบูรณ์ 0.00 −273.15 −459.67 0.00 559.73 −90.14 −218.52 −135.90
อุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก[5] 184 −89.2[5] −128.6[5] 331 284 −29 −71 −39
อุณภูมิของน้ำแข็ง น้ำ และ เกลือของฟาเรนไฮต์ 255.37 −17.78 0.00 459.67 176.67 −5.87 −14.22 −1.83
จุดเยือกแข็งของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล) 273.15 0.00 32.00 491.67 150.00 0.00 0.00 7.50
อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโลก 288 15 59 519 128 5 12 15
อุณหภูมิเฉลี่ยของร่างกายมนุษย์ 310 37 98 558 95 12 29 27
อุณหภูมิที่สูงที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก[6] 331 58[6] 136.4[6] 596 63 19 46 38
จุดเดือดของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล) 373.1339 99.9839 211.97102[7] 671.64102[7] 0.00 33.00 80.00 60.00
จุดหลอมเหลวของไททาเนียม (ณ ระดับน้ำทะเล) 1941 1668 3034 3494 −2352 550 1334 883
อุณหภูมิของพื้นผิวดวงอาทิตย์ 5800 5500 9900 10400 −8100 1800 4400 2900

กราฟเปรียบเทียบอุณหภูมิ


0 K / 0 °R (−273.15 °C)0 °F (−17.78 °C)150 °D32 °F7.5 °Rø0 °C / 0 °Ré / 0 °N212 °F100 °C80 °Ré60 °Rø33 °N0 °Dไฟล์:Comparison of temperature scales blank.svg
องศาแรงคิน (°R)
เคลวิน (K)
องศาฟาเรนไฮต์ (°F)
องศาเซลเซียส (°C)
องศาโรเมอร์ (°Ré)
องศาเรอเมอร์ (°Rø)
องศานิวตัน (°N)
องศาเดลิเซิล (°D)
ศูนย์สัมบูรณ์ อุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก อุณภูมิของน้ำแข็ง น้ำ และ เกลือของฟาเรนไฮต์ จุดเยือกแข็งของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล)) อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโลก (15 °C) อุณหภูมิเฉลี่ยของร่างกายมนุษย์ (37 °C) อุณหภูมิที่สูงที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก จุดเดือดของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล)  

อ้างอิง

  1. "Unit of thermodynamic temperature (kelvin)". The NIST Reference on Constants, Units, and Uncertainty: Historical context of the SI. National Institute of Standards and Technology (NIST). 2000. Retrieved 16 November 2011.
  2. http://www.bipm.fr/en/CGPM/db/13/3/
  3. https://en.wikipedia.org/wiki/Conservation_of_mass
  4. https://en.wikipedia.org/wiki/Newton_scale
  5. 5.0 5.1 5.2 The Coldest Inhabited Places on Earth; researchers of the Vostok Station recorded the coldest known temperature on Earth on July 21st 1983: −89.2 °C (−128.6 °F).
  6. 6.0 6.1 6.2 "World: Highest Temperature". Arizona State University, School of Geographical Sciences. November 12, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2013. an Italian weather station in al 'Aziziyah (Libya) measured a temperature of 58 °C (136.4 °F) on September 13th 1922. "Although this record has gained general acceptance as the world's highest temperature recorded under standard conditions, the validity of the extreme has been questioned."
  7. 7.0 7.1 "Comparison of temperature scales". Tampile.