ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จี้กง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
A Lee noy (คุย | ส่วนร่วม)
ชาติแรกของพระเจ้า 500 ชาติ จ้าวแม่กวนอิม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Daoji.JPG|thumb|200px|right|รูปปั้นของพระจี้กง]]
[[ไฟล์:Daoji.JPG|thumb|200px|right|รูปปั้นของพระจี้กง]]


'''เต้าจี้ฉานซือ''' ({{zh|s=道济禅师|t=道濟禪師|p=dào jì chán shī}}) (1130–1207) หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ '''จี้กง''' ({{zh|s=济公|t=濟公|p=Jìgōng}}, อาจารย์จี้) หรือ '''จี้กงหัวฝอ''' ({{zh|s=济公活佛|t=濟公活佛|p=Jìgōng huófó}} "จี้กงพุทธะผู้ยังมีชีวิต") เป็นพระ[[ภิกษุ]][[ชาวจีน]] นิกายฉาน ([[เซน]]) สมัย[[ราชวงศ์ซ่งใต้]] มีนามเดิมว่า '''หลี่ ซิวหยวน''' (李修元 บางแห่งเขียนเป็น 李修缘)
'''เต้าจี้ฉานซือ''' ({{zh|s=道济禅师|t=道濟禪師|p=dào jì chán shī}}) (1130–1207) หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ '''จี้กง''' ({{zh|s=济公|t=濟公|p=Jìgōng}}, อาจารย์จี้) หรือ '''จี้กงหัวฝอ''' ({{zh|s=济公活佛|t=濟公活佛|p=Jìgōng huófó}} "พระจอมอิทธิฤทธิ์") เป็นพระ[[ภิกษุ]][[ชาวจีน]] นิกายฉาน ([[เซน]]) สมัย[[ราชวงศ์ซ่งใต้]] มีนามเดิมว่า '''หลี่ ซิวหยวน''' (李修元 บางแห่งเขียนเป็น 李修缘)


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:43, 10 กรกฎาคม 2563

รูปปั้นของพระจี้กง

เต้าจี้ฉานซือ (จีนตัวย่อ: 道济禅师; จีนตัวเต็ม: 道濟禪師; พินอิน: dào jì chán shī) (1130–1207) หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ จี้กง (จีนตัวย่อ: 济公; จีนตัวเต็ม: 濟公; พินอิน: Jìgōng, อาจารย์จี้) หรือ จี้กงหัวฝอ (จีนตัวย่อ: 济公活佛; จีนตัวเต็ม: 濟公活佛; พินอิน: Jìgōng huófó "พระจอมอิทธิฤทธิ์") เป็นพระภิกษุชาวจีน นิกายฉาน (เซน) สมัยราชวงศ์ซ่งใต้ มีนามเดิมว่า หลี่ ซิวหยวน (李修元 บางแห่งเขียนเป็น 李修缘)

ประวัติ

หลี่ ซิวหยวน บวชเป็นภิกษุที่วัดหลิงอิ่น เมืองหางโจว มีพระอาจารย์ฮุ่ยหย่วนเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่าเต้าจี้

แม้เป็นภิกษุ แต่พระเต้าจี้มักมีพฤติกรรมแปลกจากจารีต คือชอบฉันเนื้อสุนัข ดื่มสุรา ครองจีวรที่เป็นผ้าขี้ริ้วสกปรก จึงถูกคณะสงฆ์ขับออกจากวัด และใช้ชีวิตเร่ร่อนอยู่ข้างถนน แต่พระเต้าจี้มีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ เช่น เจ็บป่วย หรือถูกรังแก จึงเป็นที่นับถือของประชาชน นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าท่านสามารถแสดงอิทธิฤทธิ์ได้ และเชื่อว่าท่านเป็นพระนนทิมิตร หนึ่งในพระอรหันต์สิบแปดองค์กลับชาติมาเกิด

หลังจากพระเต้าจี้ถึงแก่มรณภาพในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1207 ลัทธิเต๋าได้ยกย่องท่านเป็นเทพเจ้า จากนั้นไม่นานคณะสงฆ์จึงรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน

แหล่งข้อมูลอื่น