ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินทร์สม ไชยซาววงศ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
อินทร์สม ไชยซาววงศ์ เป็นชาว[[อำเภอสันกำแพง]] จังหวัดเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2476 เป็นบุตรของนายน้อย ไชยซาววงศ์ กับนางศรีวรรณ ไชยซาววงศ์ จบชั้นมัธยมจาก[[โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย]] และเข้าเรียนต่อที่[[วิทยาลัยครูเชียงใหม่]] จนเข้ารับราชการครูในปี พ.ศ. 2493 จนได้เป็นครูใหญ่โรงเรียนวัดลวงเหนือ แล้วลาออกจากราชการ มาประกอบธุรกิจส่วนตัว คือ เจ้าของกิจการทิพยเนตรรามา (โรงภาพยนตร์ทิพยเนตร) จังหวัดเชียงใหม่ และศูนย์การค้าทิพยเนตร<ref name="นักการเมือง" /><ref>http://library.cmu.ac.th/ntic/picturelanna/detail_picturelanna.php?picture_id=1652</ref>
อินทร์สม ไชยซาววงศ์ เป็นชาว[[อำเภอสันกำแพง]] จังหวัดเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2476 เป็นบุตรของนายน้อย ไชยซาววงศ์ กับนางศรีวรรณ ไชยซาววงศ์ จบชั้นมัธยมจาก[[โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย]] และเข้าเรียนต่อที่[[วิทยาลัยครูเชียงใหม่]] จนเข้ารับราชการครูในปี พ.ศ. 2493 จนได้เป็นครูใหญ่โรงเรียนวัดลวงเหนือ แล้วลาออกจากราชการ มาประกอบธุรกิจส่วนตัว คือ เจ้าของกิจการทิพยเนตรรามา (โรงภาพยนตร์ทิพยเนตร) จังหวัดเชียงใหม่ และศูนย์การค้าทิพยเนตร<ref name="นักการเมือง" /><ref>http://library.cmu.ac.th/ntic/picturelanna/detail_picturelanna.php?picture_id=1652</ref>


อินทร์สม เริ่มเล่นการเมืองจากการชักชวนของกำนันผู้ใหญ่านในพื้นที่[[อำเภอดอยสะเก็ด]] โดยการลงสมัครสมาชิกสภาจังหวัด (ส.จ.) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513 - 2516 หลังจากนั้นจึงเข้าร่วมงานกับพรรคประชาธิปัตย์ และลงสมัครใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518]] แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง <ref name="นักการเมือง" />
อินทร์สม เริ่มเล่นการเมืองจากการชักชวนของกำนันผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่[[อำเภอดอยสะเก็ด]] โดยการลงสมัครสมาชิกสภาจังหวัด (ส.จ.) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513 - 2516 หลังจากนั้นจึงเข้าร่วมงานกับพรรคประชาธิปัตย์ และลงสมัครใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518]] แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง <ref name="นักการเมือง" />


ต่อมาอินทร์สม ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งซ่อม พ.ศ. 2518 แทน [[ทองดี อิสราชีวิน]] ส.ส.เชียงใหม่ พรรคประชาธิปัตย์ ที่เสียชีวิต<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/A/095/1.PDF พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขตเลือกตั้งที่ ๑ ขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๑๘]</ref> และได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยแรก<ref name="นักการเมือง" />
ต่อมาอินทร์สม ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งซ่อม พ.ศ. 2518 แทน [[ทองดี อิสราชีวิน]] ส.ส.เชียงใหม่ พรรคประชาธิปัตย์ ที่เสียชีวิต<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/A/095/1.PDF พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขตเลือกตั้งที่ ๑ ขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๑๘]</ref> และได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยแรก<ref name="นักการเมือง" />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:33, 8 กรกฎาคม 2563

อินทร์สม ไชยซาววงศ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์[1][2] เจ้าของศูนย์การค้าทิพย์เนตร และโรงภาพยนตร์ทิพยเนตร

ประวัติ

อินทร์สม ไชยซาววงศ์ เป็นชาวอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2476 เป็นบุตรของนายน้อย ไชยซาววงศ์ กับนางศรีวรรณ ไชยซาววงศ์ จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และเข้าเรียนต่อที่วิทยาลัยครูเชียงใหม่ จนเข้ารับราชการครูในปี พ.ศ. 2493 จนได้เป็นครูใหญ่โรงเรียนวัดลวงเหนือ แล้วลาออกจากราชการ มาประกอบธุรกิจส่วนตัว คือ เจ้าของกิจการทิพยเนตรรามา (โรงภาพยนตร์ทิพยเนตร) จังหวัดเชียงใหม่ และศูนย์การค้าทิพยเนตร[2][3]

อินทร์สม เริ่มเล่นการเมืองจากการชักชวนของกำนันผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่อำเภอดอยสะเก็ด โดยการลงสมัครสมาชิกสภาจังหวัด (ส.จ.) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513 - 2516 หลังจากนั้นจึงเข้าร่วมงานกับพรรคประชาธิปัตย์ และลงสมัครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง [2]

ต่อมาอินทร์สม ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งซ่อม พ.ศ. 2518 แทน ทองดี อิสราชีวิน ส.ส.เชียงใหม่ พรรคประชาธิปัตย์ ที่เสียชีวิต[4] และได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยแรก[2]

อินทร์สม ได้ร่วมใจัดตั้งและเป็นรองประธานศูนย์มูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทย ต่อมาเป็นประธานศูนย์ฯ ในระหว่างปี พ.ศ. 2525 - 2530[5]

อินทร์สม สมรสกับนางภรรณี ไชยซาววงศ์ มีบุตร 2 คน[2] คือ นางสุดาพร กับนายอำนาจ ไชยซาววงศ์ อดีตผู้สมัคร ส.ส.พรรคเพื่อแผ่นดิน

อินทร์สม ไชยซาววงศ์ ยังเป็นที่นับถือของสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ โดยอภิรักษ์ โกษะโยธิน ยังได้เข้าแวะเวียนไปเยี่ยมเยียนเมื่อครั้งเดินทางมาเชียงใหม่[6]

อ้างอิง