ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหากษัตริย์อิตาลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ประวัติศาสตร์อิตาลี}}
{{ประวัติศาสตร์อิตาลี}}
[[ไฟล์:Corona ferrea.png|thumb|right|260px|[[มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดีย]]ที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19]]
[[ไฟล์:Corona ferrea.png|thumb|right|260px|[[มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดีย]]ที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19]]
'''พระมหากษัตริย์อิตาลี''' ({{lang-la|rex Italiae}}, {{lang-it|re d'Italia}}, {{lang-en|King of Italy}}) เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับประมุขผู้ครอง[[คาบสมุทรอิตาลี]]มาตั้งแต่[[การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน|การล่มสลาย]]ของ[[จักรวรรดิโรมัน]] แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดที่ปกครองคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมดมาจนถึง [[สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์เอ็มมานูเอลที่ 2 แห่งอิตาลี|สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2]] ในปี ค.ศ. 1870 แม้ว่าจะมีกษัตริย์บางพระองค์ก่อนหน้านั้นที่ทรงอ้าง
'''พระมหากษัตริย์อิตาลี''' ({{lang-la|rex Italiae}}, {{lang-it|re d'Italia}}, {{lang-en|King of Italy}}) เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับประมุขผู้ครอง[[คาบสมุทรอิตาลี]]มาตั้งแต่[[การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน|การล่มสลาย]]ของ[[จักรวรรดิโรมัน]] แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดที่ปกครองคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมดมาจนถึง[[สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์เอ็มมานูเอลที่ 2 แห่งอิตาลี|สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2]] ในปี ค.ศ. 1870 แม้ว่าจะมีกษัตริย์บางพระองค์ก่อนหน้านั้นที่ทรงอ้าง


หลังจากการปลด[[จักรพรรดิโรมิวลัส ออกัสตัส]]แห่ง[[จักรวรรดิโรมันตะวันตก]]ในปี [[ค.ศ. 476]] แล้ว[[โอเดเซอร์]] (Odoacer) ประมุขของ[[เฮรูลิ]] (Heruli) ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็น "dux Italiae" หรือ "ดยุคแห่งอิตาลี" โดย[[จักรพรรดิเซโนที่ 1]] แห่ง[[จักรวรรดิโรมันตะวันออก]] ต่อมาโอเดเซอร์ใช้ตำแหน่ง "rex" หรือ "ราช"/"กษัตริย์" แต่กระนั้นก็ยังถือว่าตนเองเป็นข้าราชการของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ในปี [[ค.ศ. 493]] พระมหากษัตริย์[[ออสโตรกอธ]][[พระเจ้าธีโอดอริคมหาราช]]ก็ทรงพิชิต[[โอเดเซอร์]] และทรงก่อตั้ง[[ราชวงศ์อามาล]] (Amal dynasty) ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี การครอบครอง[[อิตาลี]]โดยออสโตรกอธมาสิ้นสุดลงเมื่อ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]กลับมายึดอำนาจคืนในปี [[ค.ศ. 552]]
หลังจากการปลด[[จักรพรรดิโรมิวลัส ออกัสตัส]]แห่ง[[จักรวรรดิโรมันตะวันตก]]ในปี [[ค.ศ. 476]] แล้ว[[พระเจ้าโอเดเซอร์]] (Odoacer) ประมุขของ[[เฮรูลิ]] (Heruli) ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็น "dux Italiae" หรือ "ดยุคแห่งอิตาลี" โดย[[จักรพรรดิเซโน]]แห่ง[[จักรวรรดิโรมันตะวันออก]] ต่อมาโอเดเซอร์ใช้ตำแหน่ง "rex" หรือ "ราช"/"กษัตริย์" แต่กระนั้นก็ยังถือว่าตนเองเป็นข้าราชการของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ในปี [[ค.ศ. 493]] พระมหากษัตริย์[[ออสโตรกอธ]][[พระเจ้าธีโอดอริคมหาราช]]ก็ทรงพิชิตพระเจ้าโอเดเซอร์ และทรงก่อตั้ง[[ราชวงศ์อามาล]] (Amal dynasty) ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี การครอบครอง[[อิตาลี]]โดยออสโตรกอธมาสิ้นสุดลงเมื่อ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]กลับมายึดอำนาจคืนในปี [[ค.ศ. 552]]


แต่การยึดอำนาจของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]ก็เป็นไปเพียงระยะเวลาอันสั้น ในปี [[ค.ศ. 568]] [[ชนลอมบาร์ด]]ก็เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลี และก่อตั้งราชอาณาจักรอนารยชนเพื่อเป็นการต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ราชอาณาจักรส่วนใหญ่อยู่ในอิตาลีโดยเฉพาะใน[[ลอมบาร์เดีย]] ยกเว้น[[อาณาจักรบริวารราเวนนา]] (Exarchate of Ravenna) และอาณาจักรดยุคต่างๆ ที่รวมทั้ง[[อาณาจักรดยุคแห่งโรม|โรม]], [[ภูมิภาคเวเนเชีย|เวเนเชีย]], [[อาณาจักรดยุคแห่งเนเปิลส์|เนเปิลส์]] และทางตอนใต้ ระหว่างสองศตวรรษต่อมาลอมบาร์ดและไบแซนไทน์ก็ต่อสู้แย่งอำนาจกันในคาบสมุทรอิตาลี
แต่การยึดอำนาจของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]ก็เป็นไปเพียงระยะเวลาอันสั้น ในปี [[ค.ศ. 568]] [[ชนลอมบาร์ด]]ก็เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลี และก่อตั้งราชอาณาจักรอนารยชนเพื่อเป็นการต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ราชอาณาจักรส่วนใหญ่อยู่ในอิตาลีโดยเฉพาะใน[[ลอมบาร์เดีย]] ยกเว้น[[อาณาจักรบริวารราเวนนา]] (Exarchate of Ravenna) และอาณาจักรดยุคต่าง ๆ ที่รวมทั้ง[[อาณาจักรดยุคแห่งโรม|โรม]], [[ภูมิภาคเวเนเชีย|เวเนเชีย]], [[อาณาจักรดยุคแห่งเนเปิลส์|เนเปิลส์]] และทางตอนใต้ ระหว่างสองศตวรรษต่อมาลอมบาร์ดและไบแซนไทน์ก็ต่อสู้แย่งอำนาจกันในคาบสมุทรอิตาลี


ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิโรมันในอิตาลีและไบแซนไทน์ก็เปิดโอกาสให้ลอมบาร์ดยึดอำนาจของดินแดนโรมันทางตอนเหนือของอิตาลี แต่ในปี [[ค.ศ. 774]] ลอมบาร์ดก็พ่ายแพ้ต่อ[[ชาร์เลอมาญ]] ผู้ทรงปลดกษัตริย์ลอมบาร์ดและก่อตั้งตำแหน่ง "rex Italiae" หรือ "กษัตริย์แห่งอิตาลี" ราชอาณาจักรอิตาลีในช่วงนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อมาก็ถือตำแหน่งเป็นกษัตริย์แห่งอิตาลี และกษัตริย์ส่วนใหญ่ก็ได้รับการราชภิเษกที่เมือง[[พาเวีย]]ที่เป็นเมืองหลวงของลอมบาร์เดียก่อนที่จะเดินทางต่อไปทำการราชภิเษกเป็นจักรพรรดิในกรุงโรม แต่จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ยังทรงปกครองเพียงบางส่วนของอิตาลี โดยมีอาณาจักรอื่นบนคาบสมุทรที่ยังคงเป็นอิสระจากจักรวรรดิต่อมาอีกหลายร้อยปี บางอาณาจักรก็มีฐานะเป็นราชอาณาจักรเช่น[[ราชอาณาจักรซิซิลี]] และ [[ราชอาณาจักรเนเปิลส์]]
ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิโรมันในอิตาลีและไบแซนไทน์ก็เปิดโอกาสให้ลอมบาร์ดยึดอำนาจของดินแดนโรมันทางตอนเหนือของอิตาลี แต่ในปี [[ค.ศ. 774]] ลอมบาร์ดก็พ่ายแพ้ต่อ[[ชาร์เลอมาญ]] ผู้ทรงปลดกษัตริย์ลอมบาร์ดและก่อตั้งตำแหน่ง "rex Italiae" หรือ "กษัตริย์แห่งอิตาลี" ราชอาณาจักรอิตาลีในช่วงนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อมาก็ถือตำแหน่งเป็นกษัตริย์แห่งอิตาลี และกษัตริย์ส่วนใหญ่ก็ได้รับการราชาภิเษกที่เมือง[[ปาวีอา]]ที่เป็นเมืองหลวงของลอมบาร์เดียก่อนที่จะเดินทางต่อไปทำการราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิในกรุงโรม แต่จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ยังทรงปกครองเพียงบางส่วนของอิตาลี โดยมีอาณาจักรอื่นบนคาบสมุทรที่ยังคงเป็นอิสระจากจักรวรรดิต่อมาอีกหลายร้อยปี บางอาณาจักรก็มีฐานะเป็นราชอาณาจักรเช่น[[ราชอาณาจักรซิซิลี]] และ [[ราชอาณาจักรเนเปิลส์]]

ตามข้อตกลงของ[[สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย]]ในปี [[ค.ศ. 1648]] [[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ก็สูญเสียดินแดนส่วนใหญ่ในอิตาลีแก่ราชบัลลังก์อิตาลี ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1805]] [[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]] ก็เข้ามามีอำนาจในอิตาลี และทรงทำพิธีราชาภิเษกโดยการสวม[[มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดีย]]ที่เมือง[[พาเวีย]] ปีต่อมา[[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ก็ทรงสละราชสมบัติ หลังจากจักรพรรดินโปเลียนทรงถูกปลดจากราชบัลลังก์ในปี [[ค.ศ. 1814]] มาจนกระทั่งถึง[[การรวมอิตาลี]] (Italian Unification) ในปี [[ค.ศ. 1861]] อิตาลีก็ไม่มีพระมหากษัตริย์มาจนเมื่อ[[ราชวงศ์ซาวอย]]ขึ้นครอง[[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|ราชอาณาจักรอิตาลี]]ที่เป็นผลจากการรวมตัวของอาณาจักรต่างๆ ในคาบสมุทรอิตาลีที่รวมทั้ง[[ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย]]และ[[ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง]] ระบบราชาธิปไตยมาถูกยุบเลิกในปี [[ค.ศ. 1946]] ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี]] และมาแทนด้วย[[อิตาลี|สาธารณรัฐอิตาลี]] ({{lang-it|Repubblica Italiana}})


ตามข้อตกลงของ[[สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย]]ในปี [[ค.ศ. 1648]] [[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ก็สูญเสียดินแดนส่วนใหญ่ในอิตาลีแก่ราชบัลลังก์อิตาลี ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1805]] [[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]] ก็เข้ามามีอำนาจในอิตาลี และทรงทำพิธีราชาภิเษกโดยการสวม[[มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดีย]]ที่เมืองปาวีอา ปีต่อมา[[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ก็ทรงสละราชสมบัติ หลังจากจักรพรรดินโปเลียนทรงถูกปลดจากราชบัลลังก์ในปี [[ค.ศ. 1814]] มาจนกระทั่งถึง[[การรวมชาติอิตาลี]] (Italian unification) ในปี [[ค.ศ. 1861]] อิตาลีก็ไม่มีพระมหากษัตริย์มาจนเมื่อ[[ราชวงศ์ซาวอย]]ขึ้นครอง[[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|ราชอาณาจักรอิตาลี]]ที่เป็นผลจากการรวมตัวของอาณาจักรต่าง ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีที่รวมทั้ง[[ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย]]และ[[ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง]] ระบบราชาธิปไตยมาถูกยุบเลิกในปี [[ค.ศ. 1946]] ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี]] และมาแทนด้วย[[อิตาลี|สาธารณรัฐอิตาลี]] ({{lang-it|Repubblica Italiana}})


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 23: บรรทัด 22:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Kings of Italy|พระมหากษัตริย์อิตาลี}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Kings of Italy|พระมหากษัตริย์อิตาลี}}



[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อิตาลี|*]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อิตาลี|*]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:46, 8 กรกฎาคม 2563

ประวัติศาสตร์อิตาลี
Emblem of Italy
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความที่เกี่ยวกับ
ประเทศอิตาลี

ตามลำดับเหตุการณ์
อิตาลีก่อนประวัติศาสตร์
เกรตเตอร์กรีซ
(ศตวรรษที่ 8 ก่อน ค.ศ.– 7 ก่อน ค.ศ)
อิตาลีระหว่างการปกครองของโรมัน
(ศตวรรษที่ 8 ก่อน ค.ศ.– 6 ก่อน ค.ศ.)
อิตาลีในยุคกลาง
(คริสต์ศตวรรษ 6–14)
อิตาลีระหว่างยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา
(คริสต์ศตวรรษ 14–16)
สงครามอิตาลี
(ค.ศ. 1494–ค.ศ. 1559)
ระหว่างอิทธิพลของต่างประเทศและการรวมตัว
(ค.ศ. 1559–ค.ศ. 1814)
การรวมชาติอิตาลี
(ค.ศ. 1814–ค.ศ. 1861)
สมัยราชาธิปไตยและสมัยสงครามโลก
(ค.ศ. 1861–ค.ศ. 1945)
สมัยสาธารณรัฐ
(ค.ศ. 1945–"ปัจจุบัน")
ตามหัวข้อ
ประวัติศาสตร์การทหาร
รัฐในประวัติศาสตร์

สถานีย่อยอิตาลี
มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดียที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19

พระมหากษัตริย์อิตาลี (ละติน: rex Italiae, อิตาลี: re d'Italia, อังกฤษ: King of Italy) เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับประมุขผู้ครองคาบสมุทรอิตาลีมาตั้งแต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดที่ปกครองคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมดมาจนถึงสมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 ในปี ค.ศ. 1870 แม้ว่าจะมีกษัตริย์บางพระองค์ก่อนหน้านั้นที่ทรงอ้าง

หลังจากการปลดจักรพรรดิโรมิวลัส ออกัสตัสแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี ค.ศ. 476 แล้วพระเจ้าโอเดเซอร์ (Odoacer) ประมุขของเฮรูลิ (Heruli) ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็น "dux Italiae" หรือ "ดยุคแห่งอิตาลี" โดยจักรพรรดิเซโนแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันออก ต่อมาโอเดเซอร์ใช้ตำแหน่ง "rex" หรือ "ราช"/"กษัตริย์" แต่กระนั้นก็ยังถือว่าตนเองเป็นข้าราชการของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ในปี ค.ศ. 493 พระมหากษัตริย์ออสโตรกอธพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชก็ทรงพิชิตพระเจ้าโอเดเซอร์ และทรงก่อตั้งราชวงศ์อามาล (Amal dynasty) ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี การครอบครองอิตาลีโดยออสโตรกอธมาสิ้นสุดลงเมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์กลับมายึดอำนาจคืนในปี ค.ศ. 552

แต่การยึดอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ก็เป็นไปเพียงระยะเวลาอันสั้น ในปี ค.ศ. 568 ชนลอมบาร์ดก็เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลี และก่อตั้งราชอาณาจักรอนารยชนเพื่อเป็นการต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ราชอาณาจักรส่วนใหญ่อยู่ในอิตาลีโดยเฉพาะในลอมบาร์เดีย ยกเว้นอาณาจักรบริวารราเวนนา (Exarchate of Ravenna) และอาณาจักรดยุคต่าง ๆ ที่รวมทั้งโรม, เวเนเชีย, เนเปิลส์ และทางตอนใต้ ระหว่างสองศตวรรษต่อมาลอมบาร์ดและไบแซนไทน์ก็ต่อสู้แย่งอำนาจกันในคาบสมุทรอิตาลี

ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิโรมันในอิตาลีและไบแซนไทน์ก็เปิดโอกาสให้ลอมบาร์ดยึดอำนาจของดินแดนโรมันทางตอนเหนือของอิตาลี แต่ในปี ค.ศ. 774 ลอมบาร์ดก็พ่ายแพ้ต่อชาร์เลอมาญ ผู้ทรงปลดกษัตริย์ลอมบาร์ดและก่อตั้งตำแหน่ง "rex Italiae" หรือ "กษัตริย์แห่งอิตาลี" ราชอาณาจักรอิตาลีในช่วงนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อมาก็ถือตำแหน่งเป็นกษัตริย์แห่งอิตาลี และกษัตริย์ส่วนใหญ่ก็ได้รับการราชาภิเษกที่เมืองปาวีอาที่เป็นเมืองหลวงของลอมบาร์เดียก่อนที่จะเดินทางต่อไปทำการราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิในกรุงโรม แต่จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ยังทรงปกครองเพียงบางส่วนของอิตาลี โดยมีอาณาจักรอื่นบนคาบสมุทรที่ยังคงเป็นอิสระจากจักรวรรดิต่อมาอีกหลายร้อยปี บางอาณาจักรก็มีฐานะเป็นราชอาณาจักรเช่นราชอาณาจักรซิซิลี และ ราชอาณาจักรเนเปิลส์

ตามข้อตกลงของสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียในปี ค.ศ. 1648 จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็สูญเสียดินแดนส่วนใหญ่ในอิตาลีแก่ราชบัลลังก์อิตาลี ต่อมาในปี ค.ศ. 1805 จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ก็เข้ามามีอำนาจในอิตาลี และทรงทำพิธีราชาภิเษกโดยการสวมมงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดียที่เมืองปาวีอา ปีต่อมาสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ทรงสละราชสมบัติ หลังจากจักรพรรดินโปเลียนทรงถูกปลดจากราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1814 มาจนกระทั่งถึงการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ในปี ค.ศ. 1861 อิตาลีก็ไม่มีพระมหากษัตริย์มาจนเมื่อราชวงศ์ซาวอยขึ้นครองราชอาณาจักรอิตาลีที่เป็นผลจากการรวมตัวของอาณาจักรต่าง ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีที่รวมทั้งราชอาณาจักรซาร์ดิเนียและราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง ระบบราชาธิปไตยมาถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1946 ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี และมาแทนด้วยสาธารณรัฐอิตาลี (อิตาลี: Repubblica Italiana)

อ้างอิง

  • Davis, John A. Italy in the Nineteenth Century. London: Oxford University Press, 2000.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์อิตาลี