ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7897050 โดย Portalianด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลิน มีการศึกษาแผนแม่บทมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 <ref>[http://www.angkor.com/2bangkok/2bangkok/MassTransit/bangkokmasterplan.shtml THE 1979 BANGKOK MASS TRANSIT MASTERPLAN] 2bangkok.com</ref> โดยความช่วยเหลือจากรัฐบาล[[ญี่ปุ่น]] ในระยะแรกประกอบด้วย 3 เส้นทาง คือ
โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลิน มีการศึกษาแผนแม่บทมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 <ref>[http://www.angkor.com/2bangkok/2bangkok/MassTransit/bangkokmasterplan.shtml THE 1979 BANGKOK MASS TRANSIT MASTERPLAN] 2bangkok.com</ref> โดยความช่วยเหลือจากรัฐบาล[[ญี่ปุ่น]] ในระยะแรกประกอบด้วย 3 เส้นทาง คือ
* '''สายพระราม 4''' จาก[[พระโขนง]]-[[หัวลำโพง]]-[[หมอชิต]] ระยะทาง 25 กิโลเมตร
* '''สายพระราม 4''' จาก[[พระโขนง]]-[[หัวลำโพง]]-[[หมอชิต]] ระยะทาง 25 กิโลเมตร
* '''สายสาธร''' <ref group=note>ขณะนั้น [[ถนนสาทร]] ยังใช้ชื่อว่า "สาทร"</ref> จาก[[วงเวียนใหญ่]]-[[สาทร]]-[[ลาดพร้าว]] ระยะทาง 20 กิโลเมตร โดยมีการเตรียมโครงสร้างสำหรับรถไฟฟ้า ที่[[ตอม่อ]]ของสะพานสาทร (ปัจจุบัน คือ [[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน]])
* '''สายสาธร''' <ref group=note>ขณะนั้น [[ถนนสาทร]] ยังใช้ชื่อว่า "สาธร"</ref> จาก[[วงเวียนใหญ่]]-[[สาทร]]-[[ลาดพร้าว]] ระยะทาง 20 กิโลเมตร โดยมีการเตรียมโครงสร้างสำหรับรถไฟฟ้า ที่[[ตอม่อ]]ของสะพานสาทร (ปัจจุบัน คือ [[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน]])
* '''สายสะพานพุทธ''' จาก[[ดาวคะนอง]]-[[สะพานพุทธ]]-[[มักกะสัน]] ระยะทาง 16 กิโลเมตร โดยมีการก่อสร้าง[[สะพาน]]ข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ไปพร้อมกับการก่อสร้าง[[สะพานพระปกเกล้า]] อยู่กึ่งกลางระหว่างผิวจราจรทั้งสองฝั่ง
* '''สายสะพานพุทธ''' จาก[[ดาวคะนอง]]-[[สะพานพุทธ]]-[[มักกะสัน]] ระยะทาง 16 กิโลเมตร โดยมีการก่อสร้าง[[สะพาน]]ข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ไปพร้อมกับการก่อสร้าง[[สะพานพระปกเกล้า]] อยู่กึ่งกลางระหว่างผิวจราจรทั้งสองฝั่ง



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:35, 7 กรกฎาคม 2563

โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน (อังกฤษ: Lavalin Skytrain) เป็นโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 [1] ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำเนินการโดยบริษัท ลาวาลิน (SNC-Lavalin) จากประเทศแคนาดา ซึ่งชนะการประมูลเหนือคู่แข่ง คือ บริษัทร่วมค้า เอเชีย-ยูโร คอนซอร์เตียม (AEC) เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533 ลงนามในสัญญาสัมปทาน ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ [2] ระยะเวลาสัมปทาน 30 ปี มูลค่าก่อสร้าง 55,000 ล้านบาท

โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลิน มีการศึกษาแผนแม่บทมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 [3] โดยความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น ในระยะแรกประกอบด้วย 3 เส้นทาง คือ

โดยมีสถานีร่วม 4 แห่ง ได้แก่

  • สะพานขาว (สายพระราม 4-สายสะพานพุทธ)
  • ลุมพินี (สายพระราม 4-สายสาธร)
  • ตากสิน (สายสาธร-สายสะพานพุทธ)
  • มักกะสัน (สายสาธร-สายสะพานพุทธ)

และมีศูนย์ซ่อมบำรุงที่ห้วยขวาง ซึ่งเป็นศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน

โครงการรถไฟฟ้าลาวาลินสิ้นสุดลงในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน หลังประสบปัญหาโครงสร้างทางการเงิน ที่กำหนดเงื่อนไขให้รัฐบาลไทยต้องค้ำประกันเงินกู้ไม่มีดอกเบี้ย (ซอฟท์โลน) จากรัฐบาลแคนาดา และต้นทุนในการก่อสร้างสูงขึ้น เนื่องจากความผิดพลาดในการคำนวณค่าใช้จ่ายในการโยกย้ายระบบสาธารณูปโภค [4]

โครงการระบบขนส่งมวลชนในปัจจุบันตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าลาวาลิน

เชิงอรรถ

  1. ขณะนั้น ถนนสาทร ยังใช้ชื่อว่า "สาธร"

อ้างอิง

  1. THE LAVALIN SKYTRAIN
  2. 720 ไร่ ขุมทองลาวาลิน, นิตยสารผู้จัดการ, มีนาคม 2535
  3. THE 1979 BANGKOK MASS TRANSIT MASTERPLAN 2bangkok.com
  4. History of Thailand's Infrastructure