ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระศรีวรานุรักษ์ (ศรี บุญเฉลียว)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| name = พระศรีวรานุรักษ์ (ศรี บุญเฉลียว)
| image =
| imagesize = 200 px
| order = นายกเทศมนตรี[[เทศบาลนครเชียงใหม่|นครเชียงใหม่]]
| primeminister =
| term_start = พ.ศ. 2486
| term_end = พ.ศ. 2486
| predecessor =
| successor =
| birth_date = ราว พ.ศ. 2440
| birth_place =
| death_date = [[พ.ศ. 2518]] (78 ปี)
| death_place =
| spouse = จินดา บุญเฉลียว
| religion = [[พุทธ]]
| party =
| signature =
| footnotes =
}}
'''พระศรีวรานุรักษ์''' (ศรี บุญเฉลียว) เป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่]] 1 สมัย ในปี พ.ศ. 2480
'''พระศรีวรานุรักษ์''' (ศรี บุญเฉลียว) เป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่]] 1 สมัย ในปี พ.ศ. 2480


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
พระศรีวรานุรักษ์ เป็นบุตรของนายวัง กับนางบัวจันทร์ บุญเฉลียว เกิดที่บ้านศาลา ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2440 เข้าเรียนที่[[โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย|โรงเรียนกลางเวียง]] ต่อมา[[เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)]] ได้รับเขาเป็นบุตรบุญธรรม และส่งเรียนต่อโรงเรียนปกครอง กระทรวงมหาดไทย จนกลับมารับราชการประจำแผนกเลขาฯ มณฑลพายัพ ต่อมาย้ายไปประจำที่กรุงเทพ และเรียนวิชากฎหมายเพิ่มเติม
พระศรีวรานุรักษ์ เป็นบุตรของนายวัง กับนางบัวจันทร์ บุญเฉลียว เกิดที่บ้านศาลา ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2440 เข้าเรียนที่[[โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย|โรงเรียนกลางเวียง]] ต่อมา[[เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)]] ได้รับเขาเป็นบุตรบุญธรรม และส่งเรียนต่อโรงเรียนปกครอง กระทรวงมหาดไทย จนกลับมารับราชการประจำแผนกเลขาฯ มณฑลพายัพ ต่อมาย้ายไปประจำที่กรุงเทพ และเรียนวิชากฎหมายเพิ่มเติม<ref name="นักการเมืองถิ่น">[http://www.wachum.com/dewey/900/maibio1.pdf นักการเมืองถิ่นจังหวัดเชียงใหม่]</ref>


พระศรีวรานุรักษ์ ขอกลับมารับราชการที่จังหวัดเชียงใหม่ และเคยดำรงตำแหน่งเสมียนตรามณฑลพายัพ นายอำเภอสารภี และ<ref>https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_rd/2552/8_85/t8_85.pdf</ref> นายอำเภอแม่ริม<ref>https://www.thaitambon.com/tambon/500709/product</ref> รับราชการในยุคเดียวกับ[[เจ้าบุรีรัตน์ (แก้วมุงเมือง ณเชียงใหม่)]]<ref>[https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1189670/ ย้อนอดีต 101 ปี คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ (แก้วมุงเมือง)]</ref>
พระศรีวรานุรักษ์ ขอกลับมารับราชการที่จังหวัดเชียงใหม่ และเคยดำรงตำแหน่งเสมียนตรามณฑลพายัพ นายอำเภอสารภี และ<ref>https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_rd/2552/8_85/t8_85.pdf</ref> นายอำเภอแม่ริม<ref>https://www.thaitambon.com/tambon/500709/product</ref> รับราชการในยุคเดียวกับ[[เจ้าบุรีรัตน์ (แก้วมุงเมือง ณเชียงใหม่)]]<ref>[https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1189670/ ย้อนอดีต 101 ปี คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ (แก้วมุงเมือง)]</ref>
บรรทัด 12: บรรทัด 32:
พระศรีวรานุรักษ์ ลงเล่นการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2480 และเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนร่วมในการต้อนรับรัฐธรรมนูญเมื่อมาถึงจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2476<ref>http://tujournals.tu.ac.th/thammasatjournal/detailart.aspx?ArticleID=1861</ref> พระศรีวรานุรักษ์ มีบทบาทในฝ่ายนิติบัญญัติ อาทิ เป็นกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจัดสหกรณ์นิคมในเขตหวงห้ามที่ดินในท้องที่จังหวัดเชียงใหม่<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2480/D/3274.PDF</ref>
พระศรีวรานุรักษ์ ลงเล่นการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2480 และเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนร่วมในการต้อนรับรัฐธรรมนูญเมื่อมาถึงจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2476<ref>http://tujournals.tu.ac.th/thammasatjournal/detailart.aspx?ArticleID=1861</ref> พระศรีวรานุรักษ์ มีบทบาทในฝ่ายนิติบัญญัติ อาทิ เป็นกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจัดสหกรณ์นิคมในเขตหวงห้ามที่ดินในท้องที่จังหวัดเชียงใหม่<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2480/D/3274.PDF</ref>


พระศรีวรานุรักษ์ ได้รับเลือกเป็นนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2486
พระศรีวรานุรักษ์ ได้รับเลือกเป็นนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2486<ref name="นักการเมืองถิ่น" />

พระศรีวรานุรักษ์ เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2518 อายุ 78 ปี<ref name="นักการเมืองถิ่น" />


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 18: บรรทัด 40:


{{เรียงลำดับ|ศรี บุญเฉลียว}}
{{เรียงลำดับ|ศรี บุญเฉลียว}}
{{เกิดปี|2440}}
{{ตายปี|2518}}
{{ตายปี|2518}}
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดเชียงใหม่]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:15, 29 มิถุนายน 2563

พระศรีวรานุรักษ์ (ศรี บุญเฉลียว)
นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2486 – พ.ศ. 2486
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดราว พ.ศ. 2440
เสียชีวิตพ.ศ. 2518 (78 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสจินดา บุญเฉลียว

พระศรีวรานุรักษ์ (ศรี บุญเฉลียว) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมัย ในปี พ.ศ. 2480

ประวัติ

พระศรีวรานุรักษ์ เป็นบุตรของนายวัง กับนางบัวจันทร์ บุญเฉลียว เกิดที่บ้านศาลา ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2440 เข้าเรียนที่โรงเรียนกลางเวียง ต่อมาเจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) ได้รับเขาเป็นบุตรบุญธรรม และส่งเรียนต่อโรงเรียนปกครอง กระทรวงมหาดไทย จนกลับมารับราชการประจำแผนกเลขาฯ มณฑลพายัพ ต่อมาย้ายไปประจำที่กรุงเทพ และเรียนวิชากฎหมายเพิ่มเติม[1]

พระศรีวรานุรักษ์ ขอกลับมารับราชการที่จังหวัดเชียงใหม่ และเคยดำรงตำแหน่งเสมียนตรามณฑลพายัพ นายอำเภอสารภี และ[2] นายอำเภอแม่ริม[3] รับราชการในยุคเดียวกับเจ้าบุรีรัตน์ (แก้วมุงเมือง ณเชียงใหม่)[4]

ศรี บุญเฉลียว ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงศรีวรานุรักษ์ ในปี พ.ศ. 2471[5] และเป็นพระศรีวรานุรักษ์ ในเวลาต่อมา

พระศรีวรานุรักษ์ ถูกมองว่าเป็นบุตรบุญธรรมของเจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ และเป็นฝ่ายเดียวกับเชื้อพระวงศ์จึงตรงข้ามกัฝ่ายคณะราษฎร จึงถูกย้ายไปมณฑลนครราชสีมา ทำให้พระศรีวรานุรักษ์ ตัดสินใจลาออกจากราชการ และกลับมาทำธุรกิจส่วนตัวที่เชียงใหม่

พระศรีวรานุรักษ์ ลงเล่นการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2480 และเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนร่วมในการต้อนรับรัฐธรรมนูญเมื่อมาถึงจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2476[6] พระศรีวรานุรักษ์ มีบทบาทในฝ่ายนิติบัญญัติ อาทิ เป็นกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจัดสหกรณ์นิคมในเขตหวงห้ามที่ดินในท้องที่จังหวัดเชียงใหม่[7]

พระศรีวรานุรักษ์ ได้รับเลือกเป็นนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2486[1]

พระศรีวรานุรักษ์ เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2518 อายุ 78 ปี[1]

อ้างอิง