ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวอนส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Swans (band)"
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
ตั้งแต่ปี 1990 ผลงานทั้งหมดของสวอนส์ได้ถูกเผยแพร่โดยค่าย[[ยังก็อดส์เรคอร์ดส]]ที่จิราเป็นผู้ก่อตั้งเอง
ตั้งแต่ปี 1990 ผลงานทั้งหมดของสวอนส์ได้ถูกเผยแพร่โดยค่าย[[ยังก็อดส์เรคอร์ดส]]ที่จิราเป็นผู้ก่อตั้งเอง


ในปี 2010 จิราได้กลับมาตั้งวงใหม่โดยที่ไม่มีจาร์โบ พร้อมกับได้มีการจัดเดินสายแสดงสดไปทั่วโลก <ref name="metacritic"><ref name="metacritic" /> <ref name="Final shows" /></ref> โดยที่พวกเขาได้ออกอัลบั้มไปทั้งหมดสี่อัลบั้ม ซึ่งผลงานชุดไตรภาคอย่าง''[[เดอะเซียร์]]'' ''[[ทูบีไคนด์]]''และ''[[เดอะโกลว์อิงแมน]]''ล้วนได้รับคำชื่นชมล้นหลาม<ref name="Final shows"><ref name="Final shows2">{{cite web|url=https://www.facebook.com/SwansOfficial/posts/10156578518251978|title=Final shows|publisher=Facebook post|date=September 7, 2017|accessdate=September 9, 2017}}</ref></ref> โดยหลั งจากที่วงนั้นได้ถูกพักในปี 2017 ในปี 2019 จิราได้ออกอัลบั้มใหม่ ''[[ลีฟวิงมีนนิง]]''
ในปี 2010 จิราได้กลับมาตั้งวงใหม่โดยที่ไม่มีจาร์โบ พร้อมกับได้มีการจัดเดินสายแสดงสดไปทั่วโลก โดยที่พวกเขาได้ออกอัลบั้มไปทั้งหมดสี่อัลบั้ม ซึ่งผลงานชุดไตรภาคอย่าง''[[เดอะเซียร์]]'' ''[[ทูบีไคนด์]]''และ''[[เดอะโกลว์อิงแมน]]''ล้วนได้รับคำชื่นชมล้นหลาม<ref><ref name="Final shows"><ref name="Final shows2">{{cite web|url=https://www.facebook.com/SwansOfficial/posts/10156578518251978|title=Final shows|publisher=Facebook post|date=September 7, 2017|accessdate=September 9, 2017}}</ref> โดยหลั งจากที่วงนั้นได้ถูกพักในปี 2017 ในปี 2019 จิราได้ออกอัลบั้มใหม่ ''[[ลีฟวิงมีนนิง]]''


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
เคนได้เปรียบเทียบสวอนส์กับตำนานบลูส์อย่างเชสเตอร์ เอร์เน็ตต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ[[ฮาวลินวูลฟ์]] <ref name="''Greed'' review"><ref name="''Greed'' review" /></ref> เพราะเพลงของพวกเขานั้นมักจะมีการตั้งฐานมาจากการเล่น[[ริฟฟ์]]เพียงริฟฟ์เดียว <ref name="''Greed'' review" /> เพลงของเบอร์เน็ตต์บางเพลงโดยเฉพาะเพลงที่เบอร์เน็ตต์เขียนเองนั้นมีโครงสร้างและคุณภาพที่คล้ายคลึงกัน ดนตรีในช่วงแรกของพวกเขาถูกตรึงโดยเสียง[[กีตาร์]]ที่ช้าและกดดัน พร้อมกับการตีกลองที่ดุดันและหนักหน่วง และคำร้องที่น่ากลัว เต็มไปด้วยความเกลียดชังและรุนแรงของจิรา (ที่เขาได้รับแรงบันดาลใจจาก[[ฌอง เกเนต์]]และ[[มาร์กี เดอ ซาด]]) ที่มักจะตะโกนหรือกระทั่งเหห่าในขณะทำหน้าที่นักร้องนำ นักวิจารณ์ได้กล่าวว่าดนตรีในช่วงแรกของสวอนส์นั้น "ก้าวร้าวเกินคำบรรยาย" <ref name="''Greed'' review" />
เคนได้เปรียบเทียบสวอนส์กับตำนานบลูส์อย่างเชสเตอร์ เอร์เน็ตต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ[[ฮาวลินวูลฟ์]] <ref name="''Greed'' review"><ref name="''Greed'' review" /></ref> เพราะเพลงของพวกเขานั้นมักจะมีการตั้งฐานมาจากการเล่น[[ริฟฟ์]]เพียงริฟฟ์เดียว <ref name="''Greed'' review" /> เพลงของเบอร์เน็ตต์บางเพลงโดยเฉพาะเพลงที่เบอร์เน็ตต์เขียนเองนั้นมีโครงสร้างและคุณภาพที่คล้ายคลึงกัน ดนตรีในช่วงแรกของพวกเขาถูกตรึงโดยเสียง[[กีตาร์]]ที่ช้าและกดดัน พร้อมกับการตีกลองที่ดุดันและหนักหน่วง และคำร้องที่น่ากลัว เต็มไปด้วยความเกลียดชังและรุนแรงของจิรา (ที่เขาได้รับแรงบันดาลใจจาก[[ฌอง เกเนต์]]และ[[มาร์กี เดอ ซาด]]) ที่มักจะตะโกนหรือกระทั่งเหห่าในขณะทำหน้าที่นักร้องนำ นักวิจารณ์ได้กล่าวว่าดนตรีในช่วงแรกของสวอนส์นั้น "ก้าวร้าวเกินคำบรรยาย" <ref name="''Greed'' review" />


''[[ฟิลธ์]]'' (1983) คือสตูดิโออัลบั้มชุดแรกของวง มีความโดดเด่นในการตีกลองที่"กัดกร่อน"และมักจะเปลี่ยนจังหวะอยู่บ่อยครั้ง ร่วมด้วยการเล่นดนตรีที่เหมือนกับการเล่นดนตรี[[เฮฟวีเมทัล]]ในระดับความเร็วต่ำสุด<ref name="''Filth'' review"><ref name="''Filth'' review" /></ref> นักวิจารณ์บางคนได้กล่าวว่าสวอนส์เป็นเหมือน"สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนในดนตรี" <ref name="''Filth'' review" /> ''ฟิลธ์'' เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีนักกีตาร์[[นอร์แมน เวสต์เบิร์ก|นอร์แมนเวสต์เบิร์ก]] ผู้ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในวง และจะปรากฏในอัลบั้มสตูดิโอทุกอัลบั้มถนอกจากชุด[[เลิฟออฟไลฟ์|''เลิฟออฟไลฟ์'']] <ref name="''Filth'' review" />
''[[ฟิลธ์]]'' (1983) คือสตูดิโออัลบั้มชุดแรกของวง มีความโดดเด่นในการตีกลองที่"กัดกร่อน"และมักจะเปลี่ยนจังหวะอยู่บ่อยครั้ง ร่วมด้วยการเล่นดนตรีที่เหมือนกับการเล่นดนตรี[[เฮฟวีเมทัล]]ในระดับความเร็วต่ำสุด นักวิจารณ์บางคนได้กล่าวว่าสวอนส์เป็นเหมือน"สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนในดนตรี" <ref name="''Filth'' review" /> ''ฟิลธ์'' เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีนักกีตาร์[[นอร์แมน เวสต์เบิร์ก|นอร์แมนเวสต์เบิร์ก]] ผู้ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในวง และจะปรากฏในอัลบั้มสตูดิโอทุกอัลบั้มถนอกจากชุด[[เลิฟออฟไลฟ์|''เลิฟออฟไลฟ์'']] <ref name="''Filth'' review" />


อัลบั้มชุดที่สอง''[[ค็อป (อัลบั้ม)|ค็อป]]'' และอีพี[[ยังก็อด (อีพี)|''ยังก็อด'']] ถูกปล่อยออกมาในปี 1984 โดยเดิมที่นั้น''ยังก็อด'' ยังเป็นผลงานที่ไม่ได้มีการตั้งชื่อเอาไว้ ทำให้มีการตั้งชื่อกันเองในหมู่แฟนเพลง เช่น "ไอครอวล์ด (I Crawled)" หรือชื่ออันฉาวโฉ่อย่าง "เรปปิงอะสเลฟ (Raping A Slave)" อีพีชุดนี้มักจะถูกสับสนกับอัลบั้มชุดแรกของพวกเขา โดย''ค็อป''ยังคงความหนักหน่วงแบบที่''ฟิลธ์''เคยมี ในยุคนี้สวอนส์มีจิราร้องนำ เวสต์เบิร์กเล่นกีตาร์ [[แฮร์รี ครอสบี]]เล่นกีตาร์เบสร่วมกับจิรา และ[[โรลี มอซิมันน์]]เล่นกลอง โดยในช่วงนี้ เสียงร้องของจิราได้เปลี่ยนไปเล็กน้อย โดยได้ปรากฎการร้องแบบไพเราะและช้าลง แม้ว่าเสียงคำรามดุดันจะยังคงอยู่ก็ตาม บางเพลงในอีพีโดยเฉพาะ "ยังก็อด" และ "ไอครอวล์ด" มีทำนองร้อแท้จริงถ้าเป็นพื้นฐานให้ความสำคัญกับเสียงของการเผยแพร่ในอนาคต
อัลบั้มชุดที่สอง''[[ค็อป (อัลบั้ม)|ค็อป]]'' และอีพี[[ยังก็อด (อีพี)|''ยังก็อด'']] ถูกปล่อยออกมาในปี 1984 โดยเดิมที่นั้น''ยังก็อด'' ยังเป็นผลงานที่ไม่ได้มีการตั้งชื่อเอาไว้ ทำให้มีการตั้งชื่อกันเองในหมู่แฟนเพลง เช่น "ไอครอวล์ด (I Crawled)" หรือชื่ออันฉาวโฉ่อย่าง "เรปปิงอะสเลฟ (Raping A Slave)" อีพีชุดนี้มักจะถูกสับสนกับอัลบั้มชุดแรกของพวกเขา โดย''ค็อป''ยังคงความหนักหน่วงแบบที่''ฟิลธ์''เคยมี ในยุคนี้สวอนส์มีจิราร้องนำ เวสต์เบิร์กเล่นกีตาร์ [[แฮร์รี ครอสบี]]เล่นกีตาร์เบสร่วมกับจิรา และ[[โรลี มอซิมันน์]]เล่นกลอง โดยในช่วงนี้ เสียงร้องของจิราได้เปลี่ยนไปเล็กน้อย โดยได้ปรากฎการร้องแบบไพเราะและช้าลง แม้ว่าเสียงคำรามดุดันจะยังคงอยู่ก็ตาม บางเพลงในอีพีโดยเฉพาะ "ยังก็อด" และ "ไอครอวล์ด" มีทำนองร้อแท้จริงถ้าเป็นพื้นฐานให้ความสำคัญกับเสียงของการเผยแพร่ในอนาคต

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:32, 14 มิถุนายน 2563


สวอนส์
การแสดงสดของวงที่วอร์ซอว์ในเดือนธันวาคม 2010. จากซ้ายไปขวา: คริสตอฟ ฮาห์น เล่นกีตาร์นั่งตัก ไมเคิล จิรา เล่นกีตาร์ ธอร์ แฮร์ริส เล่นเครื่องกระทบ คริสโตเฟอร์ พราฟดิกา เล่นเบส และนอร์แมน เวสต์เบิร์ก เล่นกีตาร์ ฟิล พูลีโอ เล่นกลองอยู่หลังกลองชุด
เว็บไซต์younggodrecords.com

สวอนส์เป็นวงดนตรีเอกซ์เพอร์ริเมนทอลร็อก สัญชาติอเมริกันที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1982 โดยนักร้องนักแต่งเพลงและนักดนดรีชื่อว่าไมเคิล จิรา วงนี้นับว่าเป็นวงดนตรีในเครือของกลุ่มดนตรีแนวโนเวฟไม่กี่วงที่ยังคงดำรงอยู่ได้เป็นเวลานาน และเป็นวงเดียวที่สามารถอยู่ได้นานถึงสามทศวรรษ วงนี้เป็นที่รู้จักจากการที่มีการพัฒนาดนตรีของดนเองไปในทิศทางต่าง ๆ ในหลายแนว เช่น นอยส์ร็อก โพสต์พังก์ อินดัสเทรียล และโพสต์ร็อก ในช่วงระยะแรกนั้น พวกเขาเป็นที่รู้จักในฐานะวงที่มีดนตรีอันเข้มข้นและรุนแรง และคำร้องที่เต็มไปด้วยความเกลียดชังเผ่าพันธุ์มนุษย์ โดยในปี 1986 นักร้องหญิงชื่อว่าจาร์โบได้เข้ามาร่วมวง ทำให้แนวเพลงของวงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากโนเวฟมาเป็นกอทิกร็อก แล้วจากนั้นจึงกลายเป็นโพสต์พังก์และโพสต์ร็อก เธอได้กลายเป็นสมาชิกประจำของวงร่วมกับจิราและมือกีตาร์นอร์แมน เวสต์เบิร์กจนกระทั่งยุบวงในปี 1997 หลังจากที่มีการวางแผงอัลบั้มซาวด์แทร็กส์ทูเดอะไบลนด์

ตั้งแต่ปี 1990 ผลงานทั้งหมดของสวอนส์ได้ถูกเผยแพร่โดยค่ายยังก็อดส์เรคอร์ดสที่จิราเป็นผู้ก่อตั้งเอง

ในปี 2010 จิราได้กลับมาตั้งวงใหม่โดยที่ไม่มีจาร์โบ พร้อมกับได้มีการจัดเดินสายแสดงสดไปทั่วโลก โดยที่พวกเขาได้ออกอัลบั้มไปทั้งหมดสี่อัลบั้ม ซึ่งผลงานชุดไตรภาคอย่างเดอะเซียร์ ทูบีไคนด์และเดอะโกลว์อิงแมนล้วนได้รับคำชื่นชมล้นหลามอ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> โดยหลั งจากที่วงนั้นได้ถูกพักในปี 2017 ในปี 2019 จิราได้ออกอัลบั้มใหม่ ลีฟวิงมีนนิง

ประวัติ

วงนี้ถูกก่อตั้งและนำโดยไมเคิล จิรา ที่ในภาพกำลังแสดงใน แคนซัสซิตี รัฐมิสซูรี ในเดือนกันยายน 2012

ช่วงแรก (1982-1985)

อิทธิพลเบื้องต้น

ไมเคิล จิราได้กล่าวว่า "หงส์" คือคำที่จำกัดความของดนตรีที่เขาต้องการทำมากที่สุด อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> โดยเหตุผลว่า "หงส์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างที่งดงาม ที่มาด้วยนิสัยอันเกรี้ยวกราดรุนแรง " [1]

สมาชิกรุ่นแรกของสวอนส์นั้นประกอบไปด้วยจิราเป็นมือเบสและร้องนำ โจนาธาน เคนเล่นกลอง ซู ฮาเนลเล่นกีตาร์ โมโจเล่นเครื่องกระทบ โดยในช่วงนี้วงยังมีมือเบสคนที่สองที่หมุนเวียนแยู่กับวงเป็นระยะสั้นๆ ได้แก่ แดน บรอวน์ จอน เทสส์เลอร์(เล่นเครื่องกระทบและลูปเทปด้วย)และเธอร์สตัน มัวร์ที่ต่อมาจะออกจากวงไปก่อตั้งวงโซนิกยูท อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> ผลงานชุดเดียวของวงที่มีฮาเนลอยู่ในรายชื่อผู้ร่วมสร้างสรรค์คือผลงานชุดรวมเพลง บอดีทูบอดี, จ็อบทูจ็อบ แต่ทั้งนี้ ในอัลบั้มไม่ได้ระบุว่าเธอเล่นเพลงใด เคนได้กล่าวว่า "ซูเป็นนักกีตาร์ที่น่ากลัวที่สุดที่เราเคยได้พบเจอในนิวยอร์ก เธอเป็นคนที่น่าเหลือเชื่อสุดๆ " อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>

ในเวลาต่อมาฮาเนลได้ถูกแทนที่โดยบ็อบ เพซโซลา อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> ผู้และในช่วงนั้นก็ได้มีนักแซกโซโฟนชื่อแดเนียล กัลลี-ดัวนีจากวงอาวอง-การ์ดชื่อทรานส์มิชชันเข้ามาร่วมวงด้วย [2] ในปี 1982 สวอนส์ได้ออกผลงานอีพีชุดแรกที่ตั้งตามชื่อวง ซึ่งผลงานอีพีชุดนี้มีความแตกต่างทางด้านดนตรีจากผลงานในช่วงต่อๆ ไปของวง[2] โดยนักวิจารณ์ได้กล่าวว่าเสียงกีตาร์ที่เน้นหนักไปในการทำให้เสียงแตกทำให้นึกถึงวงโพสต์พังก์เช่นวงจอยดิวิชัน แต่ในเวลาต่อมา ดนตรีของวงก็ได้เปลี่ยนไปเป็นการเล่นคอร์ดแบบซ้ำไปซ้ำมาแบบบลูส์ ในขณะที่อิทธิพลของดนตรีแจ๊สและจังหวะอันแปลกประหลาดที่เป็นเอกลักษณ์ของดนตรีโนเวฟในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ก็ได้ค่อยๆ จางหายไปหลังจากมีการออกอัลบั้มชุดที่สอง ค็อป ในปี 1984

รูปแบบดนตรีในช่วงต้น

เคนได้เปรียบเทียบสวอนส์กับตำนานบลูส์อย่างเชสเตอร์ เอร์เน็ตต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อฮาวลินวูลฟ์ อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> เพราะเพลงของพวกเขานั้นมักจะมีการตั้งฐานมาจากการเล่นริฟฟ์เพียงริฟฟ์เดียว [3] เพลงของเบอร์เน็ตต์บางเพลงโดยเฉพาะเพลงที่เบอร์เน็ตต์เขียนเองนั้นมีโครงสร้างและคุณภาพที่คล้ายคลึงกัน ดนตรีในช่วงแรกของพวกเขาถูกตรึงโดยเสียงกีตาร์ที่ช้าและกดดัน พร้อมกับการตีกลองที่ดุดันและหนักหน่วง และคำร้องที่น่ากลัว เต็มไปด้วยความเกลียดชังและรุนแรงของจิรา (ที่เขาได้รับแรงบันดาลใจจากฌอง เกเนต์และมาร์กี เดอ ซาด) ที่มักจะตะโกนหรือกระทั่งเหห่าในขณะทำหน้าที่นักร้องนำ นักวิจารณ์ได้กล่าวว่าดนตรีในช่วงแรกของสวอนส์นั้น "ก้าวร้าวเกินคำบรรยาย" [3]

ฟิลธ์ (1983) คือสตูดิโออัลบั้มชุดแรกของวง มีความโดดเด่นในการตีกลองที่"กัดกร่อน"และมักจะเปลี่ยนจังหวะอยู่บ่อยครั้ง ร่วมด้วยการเล่นดนตรีที่เหมือนกับการเล่นดนตรีเฮฟวีเมทัลในระดับความเร็วต่ำสุด นักวิจารณ์บางคนได้กล่าวว่าสวอนส์เป็นเหมือน"สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนในดนตรี" [4] ฟิลธ์ เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีนักกีตาร์นอร์แมนเวสต์เบิร์ก ผู้ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในวง และจะปรากฏในอัลบั้มสตูดิโอทุกอัลบั้มถนอกจากชุดเลิฟออฟไลฟ์ [4]

อัลบั้มชุดที่สองค็อป และอีพียังก็อด ถูกปล่อยออกมาในปี 1984 โดยเดิมที่นั้นยังก็อด ยังเป็นผลงานที่ไม่ได้มีการตั้งชื่อเอาไว้ ทำให้มีการตั้งชื่อกันเองในหมู่แฟนเพลง เช่น "ไอครอวล์ด (I Crawled)" หรือชื่ออันฉาวโฉ่อย่าง "เรปปิงอะสเลฟ (Raping A Slave)" อีพีชุดนี้มักจะถูกสับสนกับอัลบั้มชุดแรกของพวกเขา โดยค็อปยังคงความหนักหน่วงแบบที่ฟิลธ์เคยมี ในยุคนี้สวอนส์มีจิราร้องนำ เวสต์เบิร์กเล่นกีตาร์ แฮร์รี ครอสบีเล่นกีตาร์เบสร่วมกับจิรา และโรลี มอซิมันน์เล่นกลอง โดยในช่วงนี้ เสียงร้องของจิราได้เปลี่ยนไปเล็กน้อย โดยได้ปรากฎการร้องแบบไพเราะและช้าลง แม้ว่าเสียงคำรามดุดันจะยังคงอยู่ก็ตาม บางเพลงในอีพีโดยเฉพาะ "ยังก็อด" และ "ไอครอวล์ด" มีทำนองร้อแท้จริงถ้าเป็นพื้นฐานให้ความสำคัญกับเสียงของการเผยแพร่ในอนาคต

สมาชิก

ธอร์ แฮร์ริส (หลังจิรา)
นอร์แมน เวสต์เบิร์ก
ฟิล พูลีโอ
คริสโตเฟอร์ พราฟดิกา
จาร์โบ

ปัจจุบัน

สมาชิกเดินสาย

อดีตสมาชิก


เส้นเวลา

ผลงาน

สตูดิโออัลบั้ม

หมายเหตุ

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ majestic
  2. 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Nobody Knows No Wave
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Greed review
  4. 4.0 4.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Filth review