ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวคลีโอลัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Diagram human cell nucleus.svg|thumb|right|300px|ไดอาแกรมแสดงนิวคลีโอลัสภายใน[[นิวเคลียสของเซลล์]]]]
[[ไฟล์:Diagram human cell nucleus.svg|thumb|right|300px|ไดอาแกรมแสดงนิวคลีโอลัสภายใน[[นิวเคลียสของเซลล์]]]]
{{Organelle diagram}}
{{Organelle diagram}}
'''นิวคลีโอลัส''' ({{lang-en|Nucleolus}}; {{IPAc-en|n|uː|-|,_|nj|uː|ˈ|k|l|iː|ə|l|ə|s|,_|-|k|l|i|ˈ|oʊ|l|ə|s}}, พหูพจน์: '''นิวคลีโอไล''' nucleoli; {{IPAc-en|-|l|aɪ}}) เป็นโครงสร้างใหญ่สุดภายใน[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]]ของ[[เซลล์]][[eukaryote|ยูคารีโอต]]<ref name="keystone">{{cite journal | vauthors = O'Sullivan JM, Pai DA, Cridge AG, Engelke DR, Ganley AR | title = The nucleolus: a raft adrift in the nuclear sea or the keystone in nuclear structure? | journal = Biomolecular Concepts | volume = 4 | issue = 3 | pages = 277–86 | date = June 2013 | pmid = 25436580 | pmc = 5100006 | doi = 10.1515/bmc-2012-0043 }}</ref> ในนิวคลีโอลัสมีความสำคัญคือเป็นบริเวณที่เกิดการ[[Ribosome biogenesis#Eukaryotes|ชีวสังเคราะห์ของไรโบโซม]] (ribosome biogenesis) นอกจากนี้นิวคลีโอไลยังมีส่วนในการสร้าง[[signal recognition particle|อนุภาคการรับรู้ทางสัญญาณ]] (signal recognition particle) และมีส่วนในการรับมือกับความเครียด (stress) ของเซลล์<ref>{{cite book | first1 = Mark OJ | last1 = Olson | first2 = Miroslav | last2 = Dundr | name-list-format = vanc | title = Encyclopedia of Life Sciences (eLS) | chapter = Nucleolus: Structure and Function | date = 16 February 2015 | doi = 10.1002/9780470015902.a0005975.pub3 | isbn = 978-0-470-01617-6 }}</ref> นิวคลีโอไลประกอบดเวยโปรตีน, [[DNA]] และ [[RNA]] และก่อตัวขึ้นรอบพื้นที่ทางโครโมโซม (chromosomal regions) เฉพาะ ที่เรียกว่า [[nucleolar organizing regions|พื้นที่จัดการนิวคลีโอลาร์]] (nucleolar organising regions) การทำงานผิดปกติของนิวคลีโอไลอาจเป็นสาเหตุของอาการผิดปกติในมนุษย์ที่เรียกว่า นิวคลีโอพาธี ("nucleolopathies")<ref name="pmid24631655">{{cite journal | vauthors = Hetman M | title = Role of the nucleolus in human diseases. Preface | journal = Biochimica et Biophysica Acta | volume = 1842 | issue = 6 | pages = 757 | date = June 2014 | pmid = 24631655 | doi = 10.1016/j.bbadis.2014.03.004 | doi-access = free }}</ref> ในปัจจุบันนิวคลีโอลัสกำลังถูกสำรวจในฐานะเป้าหมายหนึ่งสำหรับ[[chemotherapy|การทำเคโมเทอราพี]] (chemotherapy) เพื่อรักษาโรค[[มะเร็ง]]<ref name="pmid24389329">{{cite journal | vauthors = Quin JE, Devlin JR, Cameron D, Hannan KM, Pearson RB, Hannan RD | title = Targeting the nucleolus for cancer intervention | journal = Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Molecular Basis of Disease | volume = 1842 | issue = 6 | pages = 802–16 | date = June 2014 | pmid = 24389329 | doi = 10.1016/j.bbadis.2013.12.009 | doi-access = free }}</ref><ref name="pmid25464032">{{cite journal | vauthors = Woods SJ, Hannan KM, Pearson RB, Hannan RD | title = The nucleolus as a fundamental regulator of the p53 response and a new target for cancer therapy | journal = Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Gene Regulatory Mechanisms | volume = 1849 | issue = 7 | pages = 821–9 | date = July 2015 | pmid = 25464032 | doi = 10.1016/j.bbagrm.2014.10.007 }}</ref>
'''นิวคลีโอลัส''' ({{lang-en|Nucleolus}}; {{IPAc-en|n|uː|-|,_|nj|uː|ˈ|k|l|iː|ə|l|ə|s|,_|-|k|l|i|ˈ|oʊ|l|ə|s}}, พหูพจน์: '''นิวคลีโอไล''' nucleoli; {{IPAc-en|-|l|aɪ}}) เป็นโครงสร้างใหญ่สุดภายใน[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]]ของ[[เซลล์]][[eukaryote|ยูคารีโอต]]<ref name="keystone">{{cite journal | vauthors = O'Sullivan JM, Pai DA, Cridge AG, Engelke DR, Ganley AR | title = The nucleolus: a raft adrift in the nuclear sea or the keystone in nuclear structure? | journal = Biomolecular Concepts | volume = 4 | issue = 3 | pages = 277–86 | date = June 2013 | pmid = 25436580 | pmc = 5100006 | doi = 10.1515/bmc-2012-0043 }}</ref> ในนิวคลีโอลัสมีความสำคัญคือเป็นบริเวณที่เกิดการ[[Ribosome biogenesis#Eukaryotes|ชีวกำเนิดของไรโบโซม]] (ribosome biogenesis) นอกจากนี้นิวคลีโอไลยังมีส่วนในการสร้าง[[signal recognition particle|อนุภาคการรับรู้ทางสัญญาณ]] (signal recognition particle) และมีส่วนในการรับมือกับความเครียด (stress) ของเซลล์<ref>{{cite book | first1 = Mark OJ | last1 = Olson | first2 = Miroslav | last2 = Dundr | name-list-format = vanc | title = Encyclopedia of Life Sciences (eLS) | chapter = Nucleolus: Structure and Function | date = 16 February 2015 | doi = 10.1002/9780470015902.a0005975.pub3 | isbn = 978-0-470-01617-6 }}</ref> นิวคลีโอไลประกอบดเวยโปรตีน, [[DNA]] และ [[RNA]] และก่อตัวขึ้นรอบพื้นที่ทางโครโมโซม (chromosomal regions) เฉพาะ ที่เรียกว่า [[nucleolar organizing regions|พื้นที่จัดการนิวคลีโอลาร์]] (nucleolar organising regions) การทำงานผิดปกติของนิวคลีโอไลอาจเป็นสาเหตุของอาการผิดปกติในมนุษย์ที่เรียกว่า นิวคลีโอพาธี ("nucleolopathies")<ref name="pmid24631655">{{cite journal | vauthors = Hetman M | title = Role of the nucleolus in human diseases. Preface | journal = Biochimica et Biophysica Acta | volume = 1842 | issue = 6 | pages = 757 | date = June 2014 | pmid = 24631655 | doi = 10.1016/j.bbadis.2014.03.004 | doi-access = free }}</ref> ในปัจจุบันนิวคลีโอลัสกำลังถูกสำรวจในฐานะเป้าหมายหนึ่งสำหรับ[[chemotherapy|การทำเคโมเทอราพี]] (chemotherapy) เพื่อรักษาโรค[[มะเร็ง]]<ref name="pmid24389329">{{cite journal | vauthors = Quin JE, Devlin JR, Cameron D, Hannan KM, Pearson RB, Hannan RD | title = Targeting the nucleolus for cancer intervention | journal = Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Molecular Basis of Disease | volume = 1842 | issue = 6 | pages = 802–16 | date = June 2014 | pmid = 24389329 | doi = 10.1016/j.bbadis.2013.12.009 | doi-access = free }}</ref><ref name="pmid25464032">{{cite journal | vauthors = Woods SJ, Hannan KM, Pearson RB, Hannan RD | title = The nucleolus as a fundamental regulator of the p53 response and a new target for cancer therapy | journal = Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Gene Regulatory Mechanisms | volume = 1849 | issue = 7 | pages = 821–9 | date = July 2015 | pmid = 25464032 | doi = 10.1016/j.bbagrm.2014.10.007 }}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:34, 12 มิถุนายน 2563

ไดอาแกรมแสดงนิวคลีโอลัสภายในนิวเคลียสของเซลล์
ชีววิทยาเซลล์
เซลล์สัตว์
องค์ประกอบของเซลล์สัตว์โดยทั่วไป:
  1. นิวคลีโอลัส
  2. นิวเคลียส
  3. ไรโบโซม (จุดเล็ก ๆ)
  4. เวสิเคิล
  5. ร่างแหเอนโดพลาสมิกแบบขรุขระ
  6. กอลไจแอปพาราตัส (หรือ กอลไจบอดี)
  7. ไซโทสเกเลตัน
  8. ร่างแหเอนโดพลาสมิกแบบเรียบ
  9. ไมโทคอนเดรียน
  10. แวคิวโอล
  11. ไซโทซอล (ของเหลวที่บรรจุออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ที่รวมกันเป็นไซโทพลาสซึม)
  12. ไลโซโซม
  13. เซนโทรโซม
  14. เยื่อหุ้มเซลล์

นิวคลีโอลัส (อังกฤษ: Nucleolus; /n-, njˈklələs, -kliˈləs/, พหูพจน์: นิวคลีโอไล nucleoli; /-l/) เป็นโครงสร้างใหญ่สุดภายในนิวเคลียสของเซลล์ยูคารีโอต[1] ในนิวคลีโอลัสมีความสำคัญคือเป็นบริเวณที่เกิดการชีวกำเนิดของไรโบโซม (ribosome biogenesis) นอกจากนี้นิวคลีโอไลยังมีส่วนในการสร้างอนุภาคการรับรู้ทางสัญญาณ (signal recognition particle) และมีส่วนในการรับมือกับความเครียด (stress) ของเซลล์[2] นิวคลีโอไลประกอบดเวยโปรตีน, DNA และ RNA และก่อตัวขึ้นรอบพื้นที่ทางโครโมโซม (chromosomal regions) เฉพาะ ที่เรียกว่า พื้นที่จัดการนิวคลีโอลาร์ (nucleolar organising regions) การทำงานผิดปกติของนิวคลีโอไลอาจเป็นสาเหตุของอาการผิดปกติในมนุษย์ที่เรียกว่า นิวคลีโอพาธี ("nucleolopathies")[3] ในปัจจุบันนิวคลีโอลัสกำลังถูกสำรวจในฐานะเป้าหมายหนึ่งสำหรับการทำเคโมเทอราพี (chemotherapy) เพื่อรักษาโรคมะเร็ง[4][5]

อ้างอิง

  1. O'Sullivan JM, Pai DA, Cridge AG, Engelke DR, Ganley AR (June 2013). "The nucleolus: a raft adrift in the nuclear sea or the keystone in nuclear structure?". Biomolecular Concepts. 4 (3): 277–86. doi:10.1515/bmc-2012-0043. PMC 5100006. PMID 25436580.
  2. Olson, Mark OJ; Dundr, Miroslav (16 February 2015). "Nucleolus: Structure and Function". Encyclopedia of Life Sciences (eLS). doi:10.1002/9780470015902.a0005975.pub3. ISBN 978-0-470-01617-6. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |name-list-format= ถูกละเว้น แนะนำ (|name-list-style=) (help)
  3. Hetman M (June 2014). "Role of the nucleolus in human diseases. Preface". Biochimica et Biophysica Acta. 1842 (6): 757. doi:10.1016/j.bbadis.2014.03.004. PMID 24631655.
  4. Quin JE, Devlin JR, Cameron D, Hannan KM, Pearson RB, Hannan RD (June 2014). "Targeting the nucleolus for cancer intervention". Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Molecular Basis of Disease. 1842 (6): 802–16. doi:10.1016/j.bbadis.2013.12.009. PMID 24389329.
  5. Woods SJ, Hannan KM, Pearson RB, Hannan RD (July 2015). "The nucleolus as a fundamental regulator of the p53 response and a new target for cancer therapy". Biochimica et Biophysica Acta (BBA) - Gene Regulatory Mechanisms. 1849 (7): 821–9. doi:10.1016/j.bbagrm.2014.10.007. PMID 25464032.