ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพณิชยสารวิเทศ (ผาด มนตธาตุผลิน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| predecessor = [[พระยาบรมบาทบำรุง (พิณ ศรีวรรธนะ)]]
| predecessor = [[พระยาบรมบาทบำรุง (พิณ ศรีวรรธนะ)]]
| successor = [[พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)|มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)]]
| successor = [[พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)|มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)]]
| birth_date = 11 มกราคม พ.ศ.2431
| birth_date = 11 มกราคม พ.ศ. 2431
| birth_place = จังหวัดธนบุรี
| birth_place = จังหวัดธนบุรี
| death_date = 30 ธันวาคม พ.ศ.2513 ({{อายุปีและวัน|2431|01|11|2513|12|30}})
| death_date = 30 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ({{อายุปีและวัน|2431|01|11|2513|12|30}})
| death_place =
| death_place =
| father = นายสิบเอกพร้อม มนธาตุผลิน
| father = นายสิบเอกพร้อม มนธาตุผลิน
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
}}
}}


'''อำมาตย์เอก พระพณิชยสารวิเทศ (ผาด มนธาตุผลิน)''' อดีตผู้บังคับการ[[วชิราวุธวิทยาลัย]] เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2431 เป็นบุตรคนแรกของนายสิบเอกพร้อม มนธาตุผลิน นายทหารสังกัดกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ และนางทองอยู่ มนธาตุผลิน เกิดที่บ้านข้างวัดศรีสุดาลัย (วัดหนัง) ตำบลบางค้อ อำเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี
'''อำมาตย์เอก พระพณิชยสารวิเทศ (ผาด มนธาตุผลิน)''' อดีตผู้บังคับการ[[วชิราวุธวิทยาลัย]] เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2431 เป็นบุตรคนแรกของนายสิบเอกพร้อม มนธาตุผลิน นายทหารสังกัดกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ และนางทองอยู่ มนธาตุผลิน เกิดที่บ้านข้างวัดศรีสุดาลัย (วัดหนัง) ตำบลบางค้อ อำเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เมื่อยังเล็กบิดาได้ให้ไปหัดหนังสือกับพระครูภาวนาโกศล (พระครูทอง) เจ้าอาวาสวัดศรีสุดาลัย (วัดหนัง) เมื่ออายุได้ 8 ขวบ เข้าเรียนที่โรงเรียนวัดศรีสุดาราม (วัดชีปะขาว) และเข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส และโรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ ท่านผู้ใหญ่เห็นว่าเป็นเด็กที่มีความสามารถในการศึกษา จึงสนับสนุนให้เรียนชั้นสูง โดยนำตัวไปฝากกับ[[เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)]] เพื่อให้เป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยาพระเสด็จฯ ได้ส่งเข้าโรงเรียนมัธยมสายสวลี และได้ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบ จนจบมัธยม 6 ก็ออกเพราะโรงเรียนย้ายไปที่อื่นทำให้เดินทางลำบาก
เมื่อยังเล็กบิดาได้ให้ไปหัดหนังสือกับพระครูภาวนาโกศล (พระครูทอง) เจ้าอาวาสวัดศรีสุดาลัย (วัดหนัง) เมื่ออายุได้ 8 ขวบ เข้าเรียนที่โรงเรียนวัดศรีสุดาราม (วัดชีปะขาว) และเข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส และโรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ ท่านผู้ใหญ่เห็นว่าเป็นเด็กที่มีความสามารถในการศึกษา จึงสนับสนุนให้เรียนชั้นสูง โดยนำตัวไปฝากกับ[[เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)]] เพื่อให้เป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยาพระเสด็จฯ ได้ส่งเข้าโรงเรียนมัธยมสายสวลี และได้ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบ จนจบมัธยม 6 ก็ออกเพราะโรงเรียนย้ายไปที่อื่นทำให้เดินทางลำบาก


ต่อมาบิดาจึงนำไปฝากกับพระยาสังกรณ์ (ตาบ จารุรัตน์) ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์เพื่อให้ฝึกงานในศาลและเรียนกฎหมาย แต่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีแนะนำว่าไม่ควรทิ้งภาษาอังกฤษที่เรียนมาจึงขอให้มาเข้าโรงเรียนฝึกหัดครู และทำการสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่โรงเรียนวัดอนงคาราม และย้ายไปสอนยังโรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สอนอยู่ปีเศษจึงได้ทุนรัฐบาลไปศึกษาที่โชรสเบอรี่ พับลิกสกูล ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.2452 แล้วจึงเข้าศึกษาต่อยังมหาวิทยาลัยมิงแฮมทางด้านพาณิชยการและวิชาครู
ต่อมาบิดาจึงนำไปฝากกับพระยาสังกรณ์ (ตาบ จารุรัตน์) ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์เพื่อให้ฝึกงานในศาลและเรียนกฎหมาย แต่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีแนะนำว่าไม่ควรทิ้งภาษาอังกฤษที่เรียนมาจึงขอให้มาเข้าโรงเรียนฝึกหัดครู และทำการสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่โรงเรียนวัดอนงคาราม และย้ายไปสอนยังโรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สอนอยู่ปีเศษจึงได้ทุนรัฐบาลไปศึกษาที่โชรสเบอรี่ พับลิกสกูล ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2452 แล้วจึงเข้าศึกษาต่อยังมหาวิทยาลัยมิงแฮมทางด้านพาณิชยการและวิชาครู


==ชีวิตครอบครัว==
==ชีวิตครอบครัว==
พระพณิชยสารวิเทศ สมรสกับนางสาวเสงี่ยม สุวรรณปัทม์ บุตรี พระบาสวัสดิคิริศรีสมันตราษฎร์นายก อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2458 มีบุตร ธิดารวม 8 คนคือ
พระพณิชยสารวิเทศ สมรสกับนางสาวเสงี่ยม สุวรรณปัทม์ บุตรี พระบาสวัสดิคิริศรีสมันตราษฎร์นายก อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2458 มีบุตร ธิดารวม 8 คนคือ
* นายผงาด มนธาตุผลิน
* นายผงาด มนธาตุผลิน
* นางสาวสงบ มนธาตุผลิน
* นางสาวสงบ มนธาตุผลิน
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


==ตำแหน่งหน้าที่การงาน==
==ตำแหน่งหน้าที่การงาน==
เมื่อสำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในปี พ.ศ.2457 ก็ได้รับราชการที่กระทรวงศึกษาธิการครั้งแรกในตำแหน่งอาจารย์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้รับพระราชทานยศบรรดาศักดิ์ เป็นรองอำมาตย์เอก หลวงพณิชยสารวิเทศ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.2458 และได้รับเชิญจากอธิบดีกรมศึกษาธิการให้ไปสอนพิเศษในวิชาบัญชี ภูมิศาสตร์ และภาษาอังกฤษแก่เสมียนในเวลากลางคืน และสอนพิเศษวิชาอังกฤษแก่นักเรียนเพาะช่าง
เมื่อสำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2457 ก็ได้รับราชการที่กระทรวงศึกษาธิการครั้งแรกในตำแหน่งอาจารย์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้รับพระราชทานยศบรรดาศักดิ์ เป็นรองอำมาตย์เอก หลวงพณิชยสารวิเทศ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2458 และได้รับเชิญจากอธิบดีกรมศึกษาธิการให้ไปสอนพิเศษในวิชาบัญชี ภูมิศาสตร์ และภาษาอังกฤษแก่เสมียนในเวลากลางคืน และสอนพิเศษวิชาอังกฤษแก่นักเรียนเพาะช่าง


พ.ศ.2459 ได้รับแต่งตั้งเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ได้รับพระราชทานยศเป็นอำมาตย์ตรี และท่านได้สมัครเข้าเป็นเสือป่า ในกองเสือป่าหลวงรักษาดินแดน มณฑลนครศรีธรรมราช เป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 2 ด้วย
พ.ศ. 2459 ได้รับแต่งตั้งเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ได้รับพระราชทานยศเป็นอำมาตย์ตรี และท่านได้สมัครเข้าเป็นเสือป่า ในกองเสือป่าหลวงรักษาดินแดน มณฑลนครศรีธรรมราช เป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 2 ด้วย


พ.ศ.2465 ได้ย้ายมารับตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดเบญจบพิตรอยู่ 4 ปี ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์เป็น อำมาตย์โท พระพณิชยสารวิเทศ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2466
พ.ศ. 2465 ได้ย้ายมารับตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดเบญจบพิตรอยู่ 4 ปี ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์เป็น อำมาตย์โท พระพณิชยสารวิเทศ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466


จากนั้นย้ายมาเป็นผู้กำกับคณะในโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (ซึ่งในขณะนั้นชื่อคณะ ใช้ชื่อตามราชทินนามของผู้กำกับคณะ ซึ่งคือ คณะพณิชยสารวิเทศ หรือคณะพญาไท วชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน)
จากนั้นย้ายมาเป็นผู้กำกับคณะในโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (ซึ่งในขณะนั้นชื่อคณะ ใช้ชื่อตามราชทินนามของผู้กำกับคณะ ซึ่งคือ คณะพณิชยสารวิเทศ หรือคณะพญาไท วชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน)


วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2469 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสนาบดีกระทรวงธรรมการโปรดให้ย้ายไปทำงานในหน้าที่การเงินในกระทรวง เป็นผู้ตรวจบัญชี (หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อตำแหน่งหัวหน้ากองคลัง และยังเป็นหัวหน้ากองศาสนสมบัติที่โอนมาจากกระทรวงวังด้วย หากธรรมการจังหวัด ธรรมการมณฑลใดมีเรื่องเกี่ยวกับการเงิน ต้องให้ท่านออกไปสะสางทุกราย)
วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสนาบดีกระทรวงธรรมการโปรดให้ย้ายไปทำงานในหน้าที่การเงินในกระทรวง เป็นผู้ตรวจบัญชี (หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อตำแหน่งหัวหน้ากองคลัง และยังเป็นหัวหน้ากองศาสนสมบัติที่โอนมาจากกระทรวงวังด้วย หากธรรมการจังหวัด ธรรมการมณฑลใดมีเรื่องเกี่ยวกับการเงิน ต้องให้ท่านออกไปสะสางทุกราย)


วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2472 ได้รับตำแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ แล้วจึงได้รับพระราชทานยศเป็น อำมาตย์เอก
วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2472 ได้รับตำแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ แล้วจึงได้รับพระราชทานยศเป็น อำมาตย์เอก


วันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2477 ท่านได้รับตำแหน่งเป้นผู้รักษาการแทนในตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ
วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2477 ท่านได้รับตำแหน่งเป้นผู้รักษาการแทนในตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ


วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2478 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย <ref>ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/D/1451.PDF ประกาศเปลี่ยนกรรมการจัดการและผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์] เล่ม 52 หน้า 1451 วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2478</ref> และออกรับพระราชทานบำนาญเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2480 แต่ยังคงเป็นผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยต่อจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2485 สาเหตุที่ลาออกเพราะไม่ใคร่สบายเกี่ยวกับโรคกระเพาะ แต่ก็ยังมีผู้เชิญไปสอนพิเศษยังที่ต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงเรียนเทเวศน์ศึกษา
วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย <ref>ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/D/1451.PDF ประกาศเปลี่ยนกรรมการจัดการและผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์] เล่ม 52 หน้า 1451 วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2478</ref> และออกรับพระราชทานบำนาญเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2480 แต่ยังคงเป็นผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยต่อจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2485 สาเหตุที่ลาออกเพราะไม่ใคร่สบายเกี่ยวกับโรคกระเพาะ แต่ก็ยังมีผู้เชิญไปสอนพิเศษยังที่ต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงเรียนเทเวศน์ศึกษา


ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2492 พระยาสฤษดิการบรรจง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟได้เชิญท่านไปสอนที่โรงเรียน และบรรจุเป็นข้าราชการรถไฟด้วย และสอนอยู่จนเกษียณอายุ
ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2492 พระยาสฤษดิการบรรจง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟได้เชิญท่านไปสอนที่โรงเรียน และบรรจุเป็นข้าราชการรถไฟด้วย และสอนอยู่จนเกษียณอายุ


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บรรทัด 63: บรรทัด 63:


== ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย ==
== ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย ==
เมื่อพระยาบรมบาทบำรุง (พิณ ศรีวะะธนะ) ได้พ้นจากหน้าที่ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้พระพณิชยสารวิเทศย้ายจากกระทรวงธรรมการมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2478 จึงขาดจากราชการกระทรวงศึกษาธิการอีกครั้ง และโดยที่คณะรัฐมนตรีในยุคแรกเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มีมติว่า วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนราษฎร์ แต่ครูและพนักงานเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการจึงไม่ชอบด้วยแนวนโยบายแห่งรัฐ จึงให้ปลดครูและพนักงานทั้งหมดออกจากราชการ เพื่อสนองนโยบายของรัฐ เมื่อพระพณิชยสารวิเทศย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย จึงได้ลาออกจากราชการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2480 และมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2486
เมื่อพระยาบรมบาทบำรุง (พิณ ศรีวะะธนะ) ได้พ้นจากหน้าที่ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้พระพณิชยสารวิเทศย้ายจากกระทรวงธรรมการมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 จึงขาดจากราชการกระทรวงศึกษาธิการอีกครั้ง และโดยที่คณะรัฐมนตรีในยุคแรกเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มีมติว่า วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนราษฎร์ แต่ครูและพนักงานเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการจึงไม่ชอบด้วยแนวนโยบายแห่งรัฐ จึงให้ปลดครูและพนักงานทั้งหมดออกจากราชการ เพื่อสนองนโยบายของรัฐ เมื่อพระพณิชยสารวิเทศย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย จึงได้ลาออกจากราชการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2480 และมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2486


== ถึงแก่กรรม ==
== ถึงแก่กรรม ==
พระพณิชยสารวิเทศ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2513 ด้วยโรคเส้นโลหิตในสมองแตก สิริอายุ 83 ปี
พระพณิชยสารวิเทศ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ด้วยโรคเส้นโลหิตในสมองแตก สิริอายุ 83 ปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 83: บรรทัด 83:
| ถัดไป = [[พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)|มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา <br>(หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)]]
| ถัดไป = [[พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)|มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา <br>(หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)]]
| จำนวนถัดไป =
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = 1 สิงหาคม พ.ศ.2478 - 1 มกราคม พ.ศ.2486
| ช่วงเวลา = 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 - 1 มกราคม พ.ศ. 2486
}}
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:27, 2 มิถุนายน 2563

อำมาตย์เอก พระพณิชยสารวิเทศ
(ผาด มนธาตุผลิน)
ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย
ดำรงตำแหน่ง
1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 – 1 มกราคม พ.ศ. 2486
(7 ปี 153 วัน)
ก่อนหน้าพระยาบรมบาทบำรุง (พิณ ศรีวรรธนะ)
ถัดไปมหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด11 มกราคม พ.ศ. 2431
จังหวัดธนบุรี
เสียชีวิต30 ธันวาคม พ.ศ. 2513 (82 ปี 353 วัน)
บุพการี
  • นายสิบเอกพร้อม มนธาตุผลิน (บิดา)
  • นางทองอยู่ มนธาตุผลิน (มารดา)

อำมาตย์เอก พระพณิชยสารวิเทศ (ผาด มนธาตุผลิน) อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2431 เป็นบุตรคนแรกของนายสิบเอกพร้อม มนธาตุผลิน นายทหารสังกัดกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ และนางทองอยู่ มนธาตุผลิน เกิดที่บ้านข้างวัดศรีสุดาลัย (วัดหนัง) ตำบลบางค้อ อำเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี

ประวัติ

เมื่อยังเล็กบิดาได้ให้ไปหัดหนังสือกับพระครูภาวนาโกศล (พระครูทอง) เจ้าอาวาสวัดศรีสุดาลัย (วัดหนัง) เมื่ออายุได้ 8 ขวบ เข้าเรียนที่โรงเรียนวัดศรีสุดาราม (วัดชีปะขาว) และเข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส และโรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ ท่านผู้ใหญ่เห็นว่าเป็นเด็กที่มีความสามารถในการศึกษา จึงสนับสนุนให้เรียนชั้นสูง โดยนำตัวไปฝากกับเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) เพื่อให้เป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยาพระเสด็จฯ ได้ส่งเข้าโรงเรียนมัธยมสายสวลี และได้ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบ จนจบมัธยม 6 ก็ออกเพราะโรงเรียนย้ายไปที่อื่นทำให้เดินทางลำบาก

ต่อมาบิดาจึงนำไปฝากกับพระยาสังกรณ์ (ตาบ จารุรัตน์) ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์เพื่อให้ฝึกงานในศาลและเรียนกฎหมาย แต่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีแนะนำว่าไม่ควรทิ้งภาษาอังกฤษที่เรียนมาจึงขอให้มาเข้าโรงเรียนฝึกหัดครู และทำการสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่โรงเรียนวัดอนงคาราม และย้ายไปสอนยังโรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สอนอยู่ปีเศษจึงได้ทุนรัฐบาลไปศึกษาที่โชรสเบอรี่ พับลิกสกูล ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2452 แล้วจึงเข้าศึกษาต่อยังมหาวิทยาลัยมิงแฮมทางด้านพาณิชยการและวิชาครู

ชีวิตครอบครัว

พระพณิชยสารวิเทศ สมรสกับนางสาวเสงี่ยม สุวรรณปัทม์ บุตรี พระบาสวัสดิคิริศรีสมันตราษฎร์นายก อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2458 มีบุตร ธิดารวม 8 คนคือ

  • นายผงาด มนธาตุผลิน
  • นางสาวสงบ มนธาตุผลิน
  • นางผสม สีมานันท์
  • นางสาวพรสุข มนธาตุผลิน
  • นางสาวสงวน มนธาตุผลิน
  • เด็กหญิงแดง มนธาตุผลิน
  • นายผสาน มนธาตุผลิน
  • นางโสภา บุราคม

ตำแหน่งหน้าที่การงาน

เมื่อสำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2457 ก็ได้รับราชการที่กระทรวงศึกษาธิการครั้งแรกในตำแหน่งอาจารย์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้รับพระราชทานยศบรรดาศักดิ์ เป็นรองอำมาตย์เอก หลวงพณิชยสารวิเทศ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2458 และได้รับเชิญจากอธิบดีกรมศึกษาธิการให้ไปสอนพิเศษในวิชาบัญชี ภูมิศาสตร์ และภาษาอังกฤษแก่เสมียนในเวลากลางคืน และสอนพิเศษวิชาอังกฤษแก่นักเรียนเพาะช่าง

พ.ศ. 2459 ได้รับแต่งตั้งเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ได้รับพระราชทานยศเป็นอำมาตย์ตรี และท่านได้สมัครเข้าเป็นเสือป่า ในกองเสือป่าหลวงรักษาดินแดน มณฑลนครศรีธรรมราช เป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 2 ด้วย

พ.ศ. 2465 ได้ย้ายมารับตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดเบญจบพิตรอยู่ 4 ปี ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์เป็น อำมาตย์โท พระพณิชยสารวิเทศ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466

จากนั้นย้ายมาเป็นผู้กำกับคณะในโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (ซึ่งในขณะนั้นชื่อคณะ ใช้ชื่อตามราชทินนามของผู้กำกับคณะ ซึ่งคือ คณะพณิชยสารวิเทศ หรือคณะพญาไท วชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน)

วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสนาบดีกระทรวงธรรมการโปรดให้ย้ายไปทำงานในหน้าที่การเงินในกระทรวง เป็นผู้ตรวจบัญชี (หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อตำแหน่งหัวหน้ากองคลัง และยังเป็นหัวหน้ากองศาสนสมบัติที่โอนมาจากกระทรวงวังด้วย หากธรรมการจังหวัด ธรรมการมณฑลใดมีเรื่องเกี่ยวกับการเงิน ต้องให้ท่านออกไปสะสางทุกราย)

วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2472 ได้รับตำแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ แล้วจึงได้รับพระราชทานยศเป็น อำมาตย์เอก

วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2477 ท่านได้รับตำแหน่งเป้นผู้รักษาการแทนในตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ

วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย [1] และออกรับพระราชทานบำนาญเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2480 แต่ยังคงเป็นผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยต่อจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2485 สาเหตุที่ลาออกเพราะไม่ใคร่สบายเกี่ยวกับโรคกระเพาะ แต่ก็ยังมีผู้เชิญไปสอนพิเศษยังที่ต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงเรียนเทเวศน์ศึกษา

ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2492 พระยาสฤษดิการบรรจง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟได้เชิญท่านไปสอนที่โรงเรียน และบรรจุเป็นข้าราชการรถไฟด้วย และสอนอยู่จนเกษียณอายุ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย

เมื่อพระยาบรมบาทบำรุง (พิณ ศรีวะะธนะ) ได้พ้นจากหน้าที่ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้พระพณิชยสารวิเทศย้ายจากกระทรวงธรรมการมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 จึงขาดจากราชการกระทรวงศึกษาธิการอีกครั้ง และโดยที่คณะรัฐมนตรีในยุคแรกเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มีมติว่า วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนราษฎร์ แต่ครูและพนักงานเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการจึงไม่ชอบด้วยแนวนโยบายแห่งรัฐ จึงให้ปลดครูและพนักงานทั้งหมดออกจากราชการ เพื่อสนองนโยบายของรัฐ เมื่อพระพณิชยสารวิเทศย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย จึงได้ลาออกจากราชการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2480 และมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตำแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัยเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2486

ถึงแก่กรรม

พระพณิชยสารวิเทศ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ด้วยโรคเส้นโลหิตในสมองแตก สิริอายุ 83 ปี

อ้างอิง