ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 66: บรรทัด 66:
|-
|-
| '''[[พรรคก้าวไกล|ก้าวไกล]]''' || — || — || — || — || —|| —|| — || — || — || 54
| '''[[พรรคก้าวไกล|ก้าวไกล]]''' || — || — || — || — || —|| —|| — || — || — || 54
|-
| '''[[พรรคอนาคตใหม่|อนาคตใหม่]]''' || 80 || 81{{efn|ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจถูกศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ยุติการปฏิบัติหน้าที่ ส.ส.}} || 81 || 80 || 76|| 76|| 76 || — || — || —
|-
|-
| '''[[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]''' || 52 || 53 || 53 || 53 || 53 || 53|| 52 || 52 || 52 || 52
| '''[[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]''' || 52 || 53 || 53 || 53 || 53 || 53|| 52 || 52 || 52 || 52
บรรทัด 111: บรรทัด 109:
| '''[[พรรคพลังธรรมใหม่|พลังธรรมใหม่]]''' || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1
| '''[[พรรคพลังธรรมใหม่|พลังธรรมใหม่]]''' || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1 || 1
|-
|-
| '''[[พรรคไทรักธรรม|ไทรักธรรม]]''' || 1 || — || — || — || —|| —|| 1 || 1 || 1 || 1
| '''[[พรรคไทรักธรรม|ไทรักธรรม]]''' || 1 || — || — || — || — || — || 1 || 1 || 1 || 1
|-
| '''[[พรรคอนาคตใหม่|อนาคตใหม่]]''' || 80 || 81{{efn|ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจถูกศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ยุติการปฏิบัติหน้าที่ ส.ส.}} || 81 || 80 || 76|| 76|| 76 || — || — || —
|-
|-
| '''[[พรรคประชาชนปฏิรูป|ประชาชนปฏิรูป]]''' || 1 || 1 || — || — || —|| —|| — || — || — || —
| '''[[พรรคประชาชนปฏิรูป|ประชาชนปฏิรูป]]''' || 1 || 1 || — || — || — || — || — || — || — || —
|-
|-
| '''ไม่สังกัดพรรค''' || — || — || — || — || 4 || —|| — || 65 || 56 || —
| '''ไม่สังกัดพรรค''' || — || — || — || — || 4 || —|| — || 65 || 56 || —

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:12, 22 พฤษภาคม 2563

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25
ชุดที่ 24
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
วาระ24 มีนาคม 2562[a] –
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2
ฝ่ายค้านพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมฝ่ายค้านอีก 6 พรรค
สมาชิก500
ประธานชวน หลีกภัย (ประชาธิปัตย์)
รองประธานคนที่ 1สุชาติ ตันเจริญ (พลังประชารัฐ)
รองประธานคนที่ 2ศุภชัย โพธิ์สุ (ภูมิใจไทย)
นายกรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ผู้นำฝ่ายค้านสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (เพื่อไทย)
พรรคครองรัฐบาลผสมพรรคพลังประชารัฐและพรรคร่วมรัฐบาลอีก 21 พรรค
สมัยประชุม
ที่ 122 พฤษภาคม[1] – 19 กันยายน 2562[2]
ที่ 21 พฤศจิกายน 2562[3] – 29 กุมภาพันธ์ 2563 [4]
ที่ 322 พฤษภาคม 2563[5] –
สมัยประชุมวิสามัญ
ที่ 117[6] – 21 ตุลาคม 2562[7]

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 (พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน) เป็นสภาล่างของรัฐสภาหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยสมาชิก (ส.ส.) 500 คน 350 คนเป็นผู้แทนเขตเลือกตั้งทั้ง 350 เขตตามระบบจัดสรรปันส่วนผสม ซึ่งลดจำนวนลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และอีก 150 คนมาจากระบบบัญชีรายชื่อที่ใช้สูตรที่นั่งปรับระดับ (leveling seat)

เหตุการณ์สำคัญ

องค์ประกอบของสภา

พรรค การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
24 พฤษภาคม 2562 29 พฤษภาคม 2562[b] 6 กันยายน 2562[c] 23 ตุลาคม 2562[d] 22 ธันวาคม 2562[e] 8 มกราคม 2563[f] 28 มกราคม 2563[g] 21 กุมภาพันธ์ 2563[h] 4 มีนาคม 2563[i] 21 มีนาคม 2563
เพื่อไทย 136 136 136 136 135 135 135 135 135 135
พลังประชารัฐ 115 116 117 117 118 119 119 119 119 119
ภูมิใจไทย 51 51 51 51 51 52 52 52 61 61
ก้าวไกล 54
ประชาธิปัตย์ 52 53 53 53 53 53 52 52 52 52
ชาติไทยพัฒนา 10 10 10 11 11 11 11 11 11 12
เสรีรวมไทย 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10
ประชาชาติ 7 7 7 7 7 7 7 7 7 7
เศรษฐกิจใหม่ 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6
เพื่อชาติ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5
รวมพลังประชาชาติไทย 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5
พลังท้องถิ่นไท 3 3 3 3 3 5 5 5 5 5
ชาติพัฒนา 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
พลังปวงชนไทย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
พลังชาติไทย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ประชาภิวัฒน์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ไทยศรีวิไลย์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
พลังไทยรักไทย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ครูไทยเพื่อประชาชน 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ประชานิยม 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ประชาธรรมไทย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
พลเมืองไทย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ประชาธิปไตยใหม่ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
พลังธรรมใหม่ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ไทรักธรรม 1 1 1 1 1
อนาคตใหม่ 80 81[j] 81 80 76 76 76
ประชาชนปฏิรูป 1 1
ไม่สังกัดพรรค 4 65 56
รวม 498 500 500 500 500 500 500 489 489 489
ว่าง 2 11 11 11

หมายเหตุ:

  • ภาระทางการเมืองและกฎหมายของรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ มีดังนี้[9]
    • ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ต้องใช้เสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับวุฒิสภา (อย่างน้อย 376 เสียง)
    • ลงมติแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องใช้เสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับวุฒิสภา (อย่างน้อย 376 เสียง) โดยสมาชิกวุฒิสภาต้องเห็นชอบไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 (อย่างน้อย 84 เสียง)
    • ลงมติผ่านร่างกฎหมาย ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
    • ลงมติผ่านงบประมาณ ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
    • ลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)

ความคืบหน้าของฝ่ายข้างมากรัฐบาล

วันที่ เหตุการณ์ ฝ่ายข้างมากรัฐบาล พปชร. ปชป. ภท. ชทพ. รปช. ชพ. พทท. รป. พรรคเล็ก รวมรัฐบาล พท. อนค. กก. สร. ปช. พพช. พลท. รวมฝ่ายค้าน ศม. ไม่ระบุฝ่าย ว่าง
24 พฤษภาคม 2562 เปิดรัฐสภา 7 115 52 51 10 5 3 3 2 11 252 136 80 - 10 7 5 1 245 6 0 2
29 พฤษภาคม 2562 เลือกตั้งซ่อมเชียงใหม่ เขต 8 7 116 53 51 10 5 3 3 2 10 253 136 81 - 10 7 5 1 246 6 0 0
23 ตุลาคม 2562 เลือกตั้งซ่อมนครปฐม เขต 5 10 117 53 51 11 5 3 3 2 10 255 136 80 - 10 7 5 1 245 6 0 0
13 พฤศจิกายน 2562 คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ [10] 11 117 53 51 11 5 3 3 2 10 255 135 80 - 10 7 5 1 244 6 0 1
16 ธันวาคม 2562 พรรคอนาคตใหม่มีมติขับสมาชิกพรรค [11] 15 117 53 51 11 5 3 3 2 10 255 135 76 - 10 7 5 1 240 6 4 1
22 ธันวาคม 2562 เลือกตั้งซ่อมขอนแก่น เขต 7 16 118 53 51 11 5 3 3 2 10 256 135 76 - 10 7 5 1 240 6 4 0
8 มกราคม 2563 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ มีสังกัดใหม่ครบทั้ง 4 คน 20 119 53 52 11 5 3 3 2 12 260 135 76 - 10 7 5 1 240 6 0 0
28 มกราคม 2563 กกต.ปรับสูตรคำนวณสส.บัญชีรายชื่อใหม่ ภายหลังนายชาติชาย วรพิพัฒน์ ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ ถูกศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งพิพากษาให้โดนใบดำ[k] 20 119 52 52 11 5 3 3 2 13 260 135 76 - 10 7 5 1 240 6 0 0
3 กุมภาพันธ์ 2563 ภายหลังมติคณะกรรมการบริหารพรรคเศรษฐกิจใหม่ลาออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน [12]แต่มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ แถลงข่าวยังอยู่ในฝ่ายค้าน และขอแยกทางกับพรรค[13] 20 119 52 52 11 5 3 3 2 13 265 135 76 - 10 7 5 1 235[l] 6 0 0
14 มีนาคม 2563 ภายหลังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอดีตพรรคอนาคตใหม่ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกล,พรรคภูมิใจไทย และพรรคชาติไทยพัฒนา[14] 20 119 52 61 12 5 3 3 2 13 270 135 - 54 10 7 5 1 212 6 0 0
  รัฐบาลผสม
  ฝ่ายค้าน

รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

ได้รับการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
ออกจากตำแหน่ง
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง

มีรายชื่อดังนี้[15]

พรรคก้าวไกล (0+36)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
- วรรณวิภา ไม้สน ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พิจารณ์ เชาวพัฒนวงศ์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- อภิชาติ ศิริสุนทร ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ศิริกัญญา ตันสกุล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- รังสิมันต์ โรม ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วินท์ สุธีรชัย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สุเทพ อู่อ้น ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ปริญญา ช่วยเกตุ คีรีรัตน์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ณัฐพล สืบศักดิ์วงศ์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- คารม พลพรกลาง ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สมชาย ฝั่งชลจิตร ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วาโย อัศวรุ่งเรือง ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- คำพอง เทพาคำ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- อมรัตน์ โชคปมิตต์กุล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พลตำรวจตรี สุพิศาล ภักดีนฤนาถ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- นิติพล ผิวเหมาะ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วรภพ วิริยะโรจน์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- กัญจน์พงศ์ จงสุทธนามณี ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- เบญจา แสงจันทร์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พันตำรวจตรี ชวลิต เลาหอุดมพันธ์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ณัฐวุฒิ บัวประทุม ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ทวีศักดิ์ ทักษิณ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ประเสริฐพงษ์ ศรนุวัตร ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- รองศาสตราจารย์สุรวาท ทองบุ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- องค์การ ชัยบุตร ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- เกษมสันต์ มีทิพย์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ธีรัจชัย พันธุมาศ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สมเกียรติ ไชยวิสุทธิกุล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ณธีภัสร์ กุลเศรษฐสิทธิ์ ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- มานพ คีรีภูวดล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่

พรรคพลังประชารัฐ (19+1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
2 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
3 พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
4 สมศักดิ์ เทพสุทิน
5 นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ ลาออก 29 กรกฎาคม 2562[16]
6 สันติ กีระนันทน์
7 วิรัช รัตนเศรษฐ
8 สันติ พร้อมพัฒน์
9 สุพล ฟองงาม
10 ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์
11 เอกราช ช่างเหลา
12 พิชชารัตน์ เลาหพงศ์ชนะ
13 บุญสิงห์ วรินทร์รักษ์
14 สุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์
15 สุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์
16 พงศ์กวิน จึงรุ่งเรืองกิจ
17 วิเชียร ชวลิต
18 อรรถกร ศิริลัทธยากร
19 วทันยา วงษ์โอภาสี เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562
20 พรชัย ตระกูลวรานนท์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 30 กรกฎาคม 2562 [17]
- ไพบูลย์ นิติตะวัน ย้ายมาจากพรรคประชาชนปฏิรูป[18][19][m]

พรรคประชาธิปัตย์ (19)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ลาออก 5 มิถุนายน 2562
2 ชวน หลีกภัย
3 บัญญัติ บรรทัดฐาน
4 เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
5 คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ลาออก 8 สิงหาคม 2562
6 จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
7 กรณ์ จาติกวณิช ลาออก 15 มกราคม 2563
8 จุติ ไกรฤกษ์ ลาออก 13 กันยายน 2562[20]
9 องอาจ คล้ามไพบูลย์
10 ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู
11 อิสสระ สมชัย
12 อัศวิน วิภูศิริ
13 เกียรติ สิทธีอมร
14 กนก วงษ์ตระหง่าน
15 ศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์
16 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ลาออก 9 ธันวาคม 2562
17 พนิต วิกิตเศรษฐ์
18 อภิชัย เตชะอุบล
19 วีระชัย วีระเมธีกุล
20 จิตภัสร์ กฤดากร[21] เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562
21 สุทัศน์ เงินหมื่น[22] เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 มิถุนายน 2562
22 พิสิฐ ลี้อาธรรม เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 9 สิงหาคม 2562[23]
23 อิสระ เสรีวัฒนวุฒิ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 กันยายน 2562 [24]
24 พิมพ์รพี พันธุ์วิชาติกุล เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 ธันวาคม 2562[25]
25 - ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง ข้าม (ลาออกจากพรรค)
26 จักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 16 มกราคม 2563,[26]
ยุติการปฏิบัติหน้าที่ 28 มกราคม 2563[27]

พรรคภูมิใจไทย (12+2)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 อนุทิน ชาญวีรกูล
2 ชัย ชิดชอบ ถึงแก่อนิจกรรม 24 มกราคม 2563
3 ศักดิ์สยาม ชิดชอบ
4 นาที รัชกิจประการ ถูกศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิพากษาให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง
5 สรอรรถ กลิ่นประทุม
6 ทรงศักดิ์ ทองศรี ลาออก 23 กรกฎาคม 2562
7 วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล ลาออก 23 กรกฎาคม 2562
8 ศุภมาส อิศรภักดี
9 กรวีร์ ปริศนานันทกุล
10 ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
11 เพชรดาว โต๊ะมีนา
12 ศุภชัย ใจสมุทร
13 พันเอก เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 กรกฎาคม 2562[28]
14 มารุต มัสยวาณิช เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 กรกฎาคม 2562[29]
15 สวาป เผ่าประทาน เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 27 มกราคม 2563[30]
- วิรัช พันธุมะผล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สำลี รักสุทธี ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่

พรรคเสรีรวมไทย (10)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
2 วัชรา ณ วังขนาย
3 วิรัตน์ วรศสิริน
4 เรวัต วิศรุตเวช
5 ประสงค์ บูรณ์พงศ์
6 นภาพร เพ็ชร์จินดา
7 เพชร เอกกำลังกุล
8 ธนพร โสมทองแดง
9 อำไพ กองมณี
10 พลตำรวจโท วิศณุ ม่วงแพรสี

พรรคเศรษฐกิจใหม่ (6)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
2 สุภดิช อากาศฤกษ์
3 นิยม วิวรรธนดิฐกุล
4 ภาสกร เงินเจริญกุล
5 มนูญ สิวาภิรมย์รัตน์
6 มารศรี ขจรเรืองโรจน์

พรรคเพื่อชาติ (5)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 สงคราม กิจเลิศไพโรจน์
2 ปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช
3 อารี ไกรนรา
4 เพชรวรรต วัฒนพงศศิริกุล
5 ลินดา เชิดชัย

พรรคชาติไทยพัฒนา (4+1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 วราวุธ ศิลปอาชา
2 ธีระ วงศ์สมุทร
3 นิกร จำนง
4 นพดล มาตรศรี
- จุลพันธ์ โนนศรีชัย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่

พรรครวมพลังประชาชาติไทย (4)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล ลาออก 31 กรกฎาคม 2562[31]
2 เพชรชมพู กิจบูรณะ
3 เขตรัฐ เหล่าธรรมทัศน์
4 อนุสรี ทับสุวรรณ
5 ทวีศักดิ์ ณ ตะกั่วทุ่ง เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 31 กรกฎาคม 2562[31]
ลาออก 2 สิงหาคม 2562[32]
6 จุฑาฑัตต เหล่าธรรมทัศน์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 สิงหาคม 2562[33]

พรรคพลังท้องถิ่นไท (3)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ชัชวาลล์ คงอุดม
2 โกวิทย์ พวงงาม
3 นพดล แก้วสุพัฒน์

พรรคชาติพัฒนา (2)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 เทวัญ ลิปตพัลลภ
2 ดล เหตระกูล

พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย (2)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ดำรงค์ พิเดช
2 ยรรยงก์ ถนอมพิชัยธำรง

พรรคครูไทยเพื่อประชาชน (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ปรีดา บุญเพลิง

พรรคไทยศรีวิไลย์ (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์

พรรคประชาชาติ (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 วันมูหะมัดนอร์ มะทา

พรรคประชาธรรมไทย (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พิเชษฐ สถิรชวาล

พรรคประชาธิปไตยใหม่ (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 สุรทิน พิจารณ์

พรรคประชานิยม (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พลตำรวจเอกยงยุทธ เทพจำนงค์

พรรคประชาภิวัฒน์ (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 สมเกียรติ ศรลัมพ์ ลาออก 11 สิงหาคม 2562
2 นันทนา สงฆ์ประชา เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 สิงหาคม 2562[34]

พรรคพลังชาติไทย (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์

พรรคพลังธรรมใหม่ (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ระวี มาศฉมาดล

พรรคพลังปวงชนไทย (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 นิคม บุญวิเศษ

พรรคพลังไทยรักไทย (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 คฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล

พรรคพลเมืองไทย (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์

พรรคไทรักธรรม (1)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค ยุติการปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562[35]เริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกครั้ง 28 มกราคม 2563[36][27]

พรรคอนาคตใหม่ (0, จากที่นั่งเดิม 50 ที่นั่ง)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
1 ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[37]
2 ปิยบุตร แสงกนกกุล ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
3 วรรณวิภา ไม้สน ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
4 พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
5 กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
6 พลโท พงศกร รอดชมภู ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
7 พรรณิการ์ วานิช ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
8 สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
9 ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
10 พิจารณ์ เชาวพัฒนวงศ์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
11 เจนวิทย์ ไกรสินธุ์ ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
12 สุรชัย ศรีสารคาม ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
13 ชำนาญ จันทร์เรือง ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
14 อภิชาติ ศิริสุนทร ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
15 ศิริกัญญา ตันสกุล ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
16 รังสิมันต์ โรม ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
17 เยาวลักษณ์ วงษ์ประภารัตน์ ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
18 จารุวรรณ ศรัณย์เกตุ ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
19 วินท์ สุธีรชัย ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
20 ไกลก้อง ไวทยการ ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
21 สุเทพ อู่อ้น ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
22 - มูนีเร๊าะห์ ปอแซ ข้าม
23 ปริญญา ช่วยเกตุ คีรีรัตน์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
24 ณัฐพล สืบศักดิ์วงศ์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
25 ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
26 คารม พลพรกลาง ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
27 สมชาย ฝั่งชลจิตร ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
28 วาโย อัศวรุ่งเรือง ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
29 คำพอง เทพาคำ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
30 อมรัตน์ โชคปมิตต์กุล ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
31 พลตำรวจตรี สุพิศาล ภักดีนฤนาถ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
32 นิรามาน สุไลมาน ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
33 นิติพล ผิวเหมาะ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
34 วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
35 - วิเชียรชนินทร์ สินธุไพร ข้าม
36 วิรัช พันธุมะผล ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
37 ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
38 วรภพ วิริยะโรจน์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
39 กัญจน์พงศ์ จงสุทธนามณี ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
40 เบญจา แสงจันทร์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
41 พันตำรวจตรี ชวลิต เลาหอุดมพันธ์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
42 ณัฐวุฒิ บัวประทุม ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
43 ทวีศักดิ์ ทักษิณ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
44 ประเสริฐพงษ์ ศรนุวัตร ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
45 รองศาสตราจารย์สุรวาท ทองบุ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
46 องค์การ ชัยบุตร ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
47 สำลี รักสุทธี ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
48 เกษมสันต์ มีทิพย์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
49 ธีรัจชัย พันธุมาศ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
50 สมเกียรติ ไชยวิสุทธิกุล ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
51 ณธีภัสร์ กุลเศรษฐสิทธิ์ ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
52 จุลพันธ์ โนนศรีชัย ย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา
53 มานพ คีรีภูวดล เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 22 พฤศจิกายน 2562[38] / ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล

พรรคประชาชนปฏิรูป (0, จากที่นั่งเดิม 1 ที่นั่ง)

# รายชื่อ รายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ไพบูลย์ นิติตะวัน ยุบเลิกพรรค เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2562[39] / ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ

รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

กรุงเทพมหานคร

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร 1 กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ พรรคพลังประชารัฐ
2 พัชรินทร์ ซำศิริพงษ์ พรรคพลังประชารัฐ
3 วรรณวรี ตะล่อมสิน พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
4 กรณิศ งามสุคนธ์รัตนา พรรคพลังประชารัฐ
5 ประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ พรรคเพื่อไทย
6 ภาดาท์ วรกานนท์ พรรคพลังประชารัฐ
7 ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ พรรคพลังประชารัฐ
8 กษิดิ์เดช ชุติมันต์ พรรคพลังประชารัฐ
9 สิระ เจนจาคะ พรรคพลังประชารัฐ
10 การุณ โหสกุล พรรคเพื่อไทย
11 นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ พรรคเพื่อไทย
12 อนุสรณ์ ปั้นทอง พรรคเพื่อไทย
13 ฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ พรรคพลังประชารัฐ
14 พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ พรรคเพื่อไทย
15 ชาญวิทย์ วิภูศิริ พรรคพลังประชารัฐ
16 จิรายุ ห่วงทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
17 ศิริพงษ์ รัสมี พรรคพลังประชารัฐ
18 ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ พรรคเพื่อไทย
19 ประสิทธิ์ มะหะหมัด พรรคพลังประชารัฐ
20 มณฑล โพธิ์คาย พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[40]
21 สมเกียรติ ถนอมสินธุ์ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
22 เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
23 โชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณี พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[41]
24 ทศพร ทองศิริ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
25 ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
26 วัน อยู่บำรุง พรรคเพื่อไทย
27 จิรวัฒน์ อรัณยกานนท์ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
28 ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
29 สุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญา พรรคเพื่อไทย
30 จักรพันธ์ พรนิมิตร พรรคพลังประชารัฐ

ภาคกลาง

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กำแพงเพชร 1 ไผ่ ลิกค์ พรรคพลังประชารัฐ
2 พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ พรรคพลังประชารัฐ ศาลฎีกาพิพากษาให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง
เพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ พรรคพลังประชารัฐ เลือกตั้งใหม่[42][43]
3 อนันต์ ผลอำนวย พรรคพลังประชารัฐ
4 ปริญญา ฤกษ์หร่าย พรรคพลังประชารัฐ
ชัยนาท 1 อนุชา นาคาศัย พรรคพลังประชารัฐ
2 มณเฑียร สงฆ์ประชา พรรคพลังประชารัฐ
นครนายก 1 วุฒิชัย กิตติธเนศวร พรรคเพื่อไทย
นครปฐม 1 พันโท สินธพ แก้วพิจิตร พรรคประชาธิปัตย์
2 พาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์ พรรคชาติไทยพัฒนา
3 สุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
4 ปฐมพงศ์ สูญจันทร์ พรรคพลังประชารัฐ
5 จุมพิตา จันทรขจร พรรคอนาคตใหม่ ลาออก 10 กันยายน 2562
เผดิมชัย สะสมทรัพย์ พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่[44][45]
นครสวรรค์ 1 ภิญโญ นิโรจน์ พรรคพลังประชารัฐ
2 วีระกร คำประกอบ พรรคพลังประชารัฐ
3 สัญญา นิลสุพรรณ พรรคพลังประชารัฐ
4 มานพ ศรีผึ้ง พรรคภูมิใจไทย
5 ทายาท เกียรติชูศักดิ์ พรรคเพื่อไทย
6 นิโรธ สุนทรเลขา พรรคพลังประชารัฐ
นนทบุรี 1 เจริญ เรี่ยวแรง พรรคพลังประชารัฐ
2 จิรพงษ์ ทรงวัชราภรณ์ พรรคเพื่อไทย
3 มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ พรรคเพื่อไทย
4 มนตรี ตั้งเจริญถาวร พรรคเพื่อไทย
5 วันชัย เจริญนนทสิทธิ์ พรรคเพื่อไทย
6 ภณณัฎฐ์ ศรีอินทร์สุทธิ์ พรรคเพื่อไทย
ปทุมธานี 1 สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล พรรคเพื่อไทย
2 ศุภชัย นพขำ พรรคเพื่อไทย
3 อนาวิล รัตนสถาพร พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[46]
4 ชัยยันต์ ผลสุวรรณ์ พรรคเพื่อไทย
5 พรพิมล ธรรมสาร พรรคเพื่อไทย
6 พิษณุ พลธี พรรคภูมิใจไทย
พระนครศรีอยุธยา 1 เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร พรรคภูมิใจไทย
2 นพ ชีวานันท์ พรรคเพื่อไทย
3 สุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล พรรคภูมิใจไทย
4 จิรทัศ ไกรเดชา พรรคเพื่อไทย
พิจิตร 1 พรชัย อินทร์สุข พรรคพลังประชารัฐ
2 ภูดิท อินสุวรรณ์ พรรคพลังประชารัฐ
3 สุรชาติ ศรีบุศกร พรรคพลังประชารัฐ
พิษณุโลก 1 ปดิพัทธ์ สันติภาดา พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
2 นพพล เหลืองทองนารา พรรคเพื่อไทย
3 อนุชา น้อยวงศ์ พรรคพลังประชารัฐ
4 นิยม ช่างพินิจ พรรคเพื่อไทย
5 มานัส อ่อนอ้าย พรรคพลังประชารัฐ
เพชรบูรณ์ 1 พิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์ พรรคพลังประชารัฐ
2 จักรัตน์ พั้วช่วย พรรคพลังประชารัฐ
3 วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ พรรคพลังประชารัฐ
4 สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ พรรคพลังประชารัฐ
5 เอี่ยม ทองใจสด พรรคพลังประชารัฐ
ลพบุรี 1 ประทวน สุทธิอำนวยเดช พรรคพลังประชารัฐ
2 มัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช พรรคภูมิใจไทย
3 อุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม พรรคเพื่อไทย
4 เกียรติ เหลืองขจรวิทย์ พรรคภูมิใจไทย
สมุทรปราการ 1 อัครวัฒน์ อัศวเหม พรรคพลังประชารัฐ
2 ยงยุทธ สุวรรณบุตร พรรคพลังประชารัฐ
3 ภริม พูลเจริญ พรรคพลังประชารัฐ
4 วุฒินันท์ บุญชู พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
5 กรุงศรีวิไล สุทินเผือก พรรคพลังประชารัฐ ศาลฎีกาแผนกคดีการเลือกตั้งสั่งหยุดปฏิบัติหน้าที่[n]
6 ฐาปกรณ์ กุลเจริญ พรรคพลังประชารัฐ
7 ไพลิน เทียนสุวรรณ พรรคพลังประชารัฐ
สมุทรสงคราม 1 รังสิมา รอดรัศมี พรรคประชาธิปัตย์
สมุทรสาคร 1 ทองแดง เบ็ญจะปัก พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
2 สมัคร ป้องวงษ์ พรรคชาติพัฒนา ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
3 จอมขวัญ กลับบ้านเกาะ พรรคพลังประชารัฐ
สระบุรี 1 กัลยา รุ่งวิจิตรชัย พรรคพลังประชารัฐ
2 สมบัติ อำนาคะ พรรคพลังประชารัฐ
3 องอาจ วงษ์ประยูร พรรคเพื่อไทย
สิงห์บุรี 1 โชติวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ พรรคพลังประชารัฐ
สุโขทัย 1 พรรณสิริ กุลนาถศิริ พรรคพลังประชารัฐ
2 ชูศักดิ์ คีรีมาศทอง พรรคพลังประชารัฐ
3 สมเจตน์ ลิมปะพันธุ์ พรรคภูมิใจไทย
สุพรรณบุรี 1 สรชัด สุจิตต์ พรรคชาติไทยพัฒนา
2 ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ พรรคชาติไทยพัฒนา
3 ประภัตร โพธสุธน พรรคชาติไทยพัฒนา
4 เสมอกัน เที่ยงธรรม พรรคชาติไทยพัฒนา
อ่างทอง 1 ภราดร ปริศนานันทกุล พรรคภูมิใจไทย
อุทัยธานี 1 เจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ พรรคภูมิใจไทย
2 ชาดา ไทยเศรษฐ์ พรรคภูมิใจไทย

ภาคเหนือ

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
เชียงราย 1 เอกภพ เพียรพิเศษ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
2 วิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
3 วิสาร เตชะธีราวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
4 รังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ พรรคเพื่อไทย
5 พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน พรรคเพื่อไทย
6 พีรเดช คำสมุทร พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
7 ละออง ติยะไพรัช พรรคเพื่อไทย
เชียงใหม่ 1 ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ พรรคเพื่อไทย
2 นพคุณ รัฐผไท พรรคเพื่อไทย
3 จักรพล ตั้งสุทธิธรรม พรรคเพื่อไทย
4 วิทยา ทรงคำ พรรคเพื่อไทย
5 สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
6 จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
7 ประสิทธิ์ วุฒินันชัย พรรคเพื่อไทย
8[o] ศรีนวล บุญลือ พรรคภูมิใจไทย เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
9 ศรีเรศ โกฎคำลือ พรรคเพื่อไทย
น่าน 1 สิรินทร รามสูต พรรคเพื่อไทย
2 ชลน่าน ศรีแก้ว พรรคเพื่อไทย
3 ณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ พรรคเพื่อไทย
พะเยา 1 ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า พรรคพลังประชารัฐ
2 วิสุทธิ์ ไชยณรุณ พรรคเพื่อไทย
3 จีรเดช ศรีวิราช พรรคพลังประชารัฐ
แพร่ 1 เอกการ ซื่อทรงธรรม พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[47]
2 กฤติเดช สันติวชิระกุล พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[48]
แม่ฮ่องสอน 1 ปัญญา จีนาคำ พรรคพลังประชารัฐ
ลำปาง 1 กิตติกร โล่ห์สุนทร พรรคเพื่อไทย
2 ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร พรรคเพื่อไทย
3 จรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
4 อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย เสียชีวิต 7 พฤษภาคม 2563[49]
ว่าง เลือกตั้งใหม่[50]
ลำพูน 1 สงวน พงษ์มณี พรรคเพื่อไทย
2 รังสรรค์ มณีรัตน์ พรรคเพื่อไทย
อุตรดิตถ์ 1 กนก ลิ้มตระกูล พรรคเพื่อไทย
2 ศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ พรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ 1 บุญรื่น ศรีธเรศ พรรคเพื่อไทย
2 วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ พรรคเพื่อไทย
3 คมเดช ไชยศิวามงคล พรรคเพื่อไทย
4 พีระเพชร ศิริกุล พรรคเพื่อไทย
5 ประเสริฐ บุญเรือง พรรคเพื่อไทย
ขอนแก่น 1 ฐิตินันท์ แสงนาค พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[51]
2 วัฒนา ช่างเหลา พรรคพลังประชารัฐ
3 จตุพร เจริญเชื้อ พรรคเพื่อไทย
4 มุกดา พงษ์สมบัติ พรรคเพื่อไทย
5 ภาควัต ศรีสุรพล พรรคเพื่อไทย
6 สิงหภณ ดีนาง พรรคเพื่อไทย
7 นวัธ เตาะเจริญสุข พรรคเพื่อไทย พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[52]
สมศักดิ์ คุณเงิน พรรคพลังประชารัฐ เลือกตั้งใหม่[53][54]
8 สรัสนันท์ อรรณนพพร พรรคเพื่อไทย
9 วันนิวัติ สมบูรณ์ พรรคเพื่อไทย
10 บัลลังก์ อรรณนพพร พรรคเพื่อไทย
ชัยภูมิ 1 โอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย พรรคเพื่อไทย
2 เชิงชาย ชาลีรินทร์ พรรคพลังประชารัฐ
3 สัมฤทธิ์ แทนทรัพย์ พรรคพลังประชารัฐ
4 มานะ โลหะวณิชย์ พรรคเพื่อไทย
5 พรเพ็ญ บุญศิริวัฒนกุล พรรคเพื่อไทย
6 สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ พรรคเพื่อไทย
นครพนม 1 ศุภชัย โพธิ์สุ พรรคภูมิใจไทย
2 มนพร เจริญศรี พรรคเพื่อไทย
3 ไพจิต ศรีวรขาน พรรคเพื่อไทย
4 ชวลิต วิชยสุทธิ์ พรรคเพื่อไทย
นครราชสีมา 1 เกษม ศุภรานนท์ พรรคพลังประชารัฐ
2 วัชรพล โตมรศักดิ์ พรรคชาติพัฒนา
3 ประเสริฐ จันทรรวงทอง พรรคเพื่อไทย
4 ทวิรัฐ รัตนเศรษฐ พรรคพลังประชารัฐ
5 โกศล ปัทมะ พรรคเพื่อไทย
6 อธิรัฐ รัตนเศรษฐ พรรคพลังประชารัฐ
7 ทัศนียา รัตนเศรษฐ พรรคพลังประชารัฐ
8 ทัศนาพร เกษเมธีการุณ พรรคพลังประชารัฐ
9 อภิชา เลิศรัตนกมล พรรคภูมิใจไทย
10 พรชัย อำนวยทรัพย์ พรรคภูมิใจไทย
11 สมศักดิ์ พันธ์เกษม พรรคพลังประชารัฐ
12 ศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ พรรคเพื่อไทย
13 วิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ พรรคภูมิใจไทย
14 สุชาติ ภิญโญ พรรคเพื่อไทย
บึงกาฬ 1 เชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ พรรคเพื่อไทย
2 ไตรรงค์ ติธรรม พรรคเพื่อไทย
บุรีรัมย์ 1 สนอง เทพอักษรณรงค์ พรรคภูมิใจไทย
2 รังสิกร ทิมาตฤกะ พรรคภูมิใจไทย
3 สมบูรณ์ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
4 โสภณ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
5 อดิพงษ์ ฐิติพิทยา พรรคภูมิใจไทย
6 ไตรเทพ งามกมล พรรคภูมิใจไทย
7 จักรกฤษณ์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
8 รุ่งโรจน์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
มหาสารคาม 1 กิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
2 ไชยวัฒนา ติณรัตน์ พรรคเพื่อไทย
3 ยุทธพงศ์ จรัสเสถียร พรรคเพื่อไทย
4 จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ พรรคเพื่อไทย
5 สุทิน คลังแสง พรรคเพื่อไทย
มุกดาหาร 1 อนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ พรรคเพื่อไทย
2 บุญฐิน ประทุมลี พรรคเพื่อไทย
ยโสธร 1 ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ พรรคเพื่อไทย
2 บุญแก้ว สมวงศ์ พรรคเพื่อไทย
3 ธนกร ไชยกุล พรรคเพื่อไทย
ร้อยเอ็ด 1 อนุรักษ์ จุรีมาศ พรรคชาติไทยพัฒนา
2 ฉลาด ขามช่วง พรรคเพื่อไทย
3 นิรมิต สุจารี พรรคเพื่อไทย
4 นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ พรรคเพื่อไทย
5 จิราพร สินธุไพร พรรคเพื่อไทย
6 กิตติ สมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
7 ศักดา คงเพชร พรรคเพื่อไทย
เลย 1 เลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล พรรคเพื่อไทย
2 ศรัณย์ ทิมสุวรรณ พรรคเพื่อไทย
3 ธนยศ ทิมสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย
ศรีสะเกษ 1 สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ พรรคภูมิใจไทย
2 สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ พรรคเพื่อไทย
3 วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ พรรคเพื่อไทย
4 จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ พรรคเพื่อไทย
5 ธีระ ไตรสรณกุล พรรคเพื่อไทย
6 วีระพล จิตสัมฤทธิ์ พรรคเพื่อไทย
7 อาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ พรรคภูมิใจไทย
8 ผ่องศรี แซ่จึง พรรคเพื่อไทย
สกลนคร 1 อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย พรรคเพื่อไทย
2 นิยม เวชกามา พรรคเพื่อไทย
3 พัฒนา สัพโส พรรคเพื่อไทย
4 อนุรักษ์ บุญศล พรรคเพื่อไทย
5 สกุณา สาระนันท์ พรรคเพื่อไทย
6 เกษม อุประ พรรคเพื่อไทย
สุรินทร์ 1 ปกรณ์ มุ่งเจริญพร พรรคภูมิใจไทย
2 ณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์ พรรคพลังประชารัฐ
3 คุณากร ปรีชาชนะชัย พรรคเพื่อไทย
4 ตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล พรรคเพื่อไทย
5 ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม พรรคเพื่อไทย
6 สมบัติ ศรีสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
7 ชูศักดิ์ แอกทอง พรรคเพื่อไทย
หนองคาย 1 กฤษฎา ตันเทอดทิตย์ พรรคเพื่อไทย
2 ชนก จันทาทอง พรรคเพื่อไทย
3 เอกธนัช อินทร์รอด พรรคเพื่อไทย
หนองบัวลำภู 1 สยาม หัตถสงเคราะห์ พรรคเพื่อไทย
2 ไชยา พรหมา พรรคเพื่อไทย
3 ณัฐวุฒิ กองจันทร์ดี พรรคเพื่อไทย
อุดรธานี 1 ศราวุธ เพชรพนมพร พรรคเพื่อไทย
2 อนันต์ ศรีพันธุ์ พรรคเพื่อไทย
3 ขจิตร ชัยนิคม พรรคเพื่อไทย
4 อาภรณ์ สาราคำ พรรคเพื่อไทย
5 จุฑาพัตธน์ เมนะสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
6 จักรพรรดิ ไชยสาส์น พรรคเพื่อไทย
7 เกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม พรรคเพื่อไทย
8 เทียบจุฑา ขาวขำ พรรคเพื่อไทย
อุบลราชธานี 1 วรสิทธิ์ กัลป์ตินันต์ พรรคเพื่อไทย
2 วุฒิพงษ์ นามบุตร พรรคประชาธิปัตย์
3 กิตติ์ธัญญา วาจาดี พรรคเพื่อไทย
4 เอกชัย ทรงอำนาจเจริญ พรรคเพื่อไทย
5 รัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ พรรคเพื่อไทย
6 ธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ พรรคพลังประชารัฐ
7 ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ พรรคเพื่อไทย
8 แนน บุณย์ธิดา สมชัย พรรคประชาธิปัตย์
9 ประภูศักดิ์ จินตะเวช พรรคเพื่อไทย
10 สมคิด เชื้อคง พรรคเพื่อไทย
อำนาจเจริญ 1 สมหญิง บัวบุตร พรรคเพื่อไทย
2 ดะนัย มะหิพันธ์ พรรคเพื่อไทย

ภาคใต้

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กระบี่ 1 สาคร เกี่ยวข้อง พรรคประชาธิปัตย์
2 สฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง พรรคภูมิใจไทย
ชุมพร 1 ชุมพล จุลใส พรรคประชาธิปัตย์
2 สราวุธ อ่อนละมัย พรรคประชาธิปัตย์
3 สุพล จุลใส พรรครวมพลังประชาชาติไทย
ตรัง 1 นิพันธ์ ศิริธร พรรคพลังประชารัฐ
2 สาทิตย์ วงศ์หนองเตย พรรคประชาธิปัตย์
3 สุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
นครศรีธรรมราช 1 รงค์ บุญสวยขวัญ พรรคพลังประชารัฐ
2 สัณหพจน์ สุขศรีเมือง พรรคพลังประชารัฐ
3 เทพไท เสนพงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
4 ประกอบ รัตนพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์
5 ชินวรณ์ บุณยเกียรติ พรรคประชาธิปัตย์
6 ชัยชนะ เดชเดโช พรรคประชาธิปัตย์
7 สายันห์ ยุติธรรม พรรคพลังประชารัฐ
8 พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล พรรคประชาธิปัตย์
นราธิวาส 1 วัชระ ยาวอหะซัน พรรคพลังประชารัฐ
2 สัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ พรรคพลังประชารัฐ
3 กูเฮง ยาวอหะซัน พรรคประชาชาติ
4 กมลศักดิ์ ลีวาเมาะ พรรคประชาชาติ
ปัตตานี 1 อันวาร์ สาและ พรรคประชาธิปัตย์
2 อับดุลบาซิม อาบู พรรคภูมิใจไทย
3 อนุมัติ ซูสารอ พรรคประชาชาติ
4 สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ พรรคประชาชาติ
พังงา 1 กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
พัทลุง 1 ภูมิศิษฎ์ คงมี พรรคภูมิใจไทย
2 ฉลอง เทอดวีระพงศ์ พรรคภูมิใจไทย
3 นริศ ขำนุรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ภูเก็ต 1 สุทา ประทีป ณ ถลาง พรรคพลังประชารัฐ
2 นัทธี ถิ่นสาคู พรรคพลังประชารัฐ
ยะลา 1 อาดิลัน อาลีอิสเฮาะ พรรคพลังประชารัฐ
2 ซูการ์โน มะทา พรรคประชาชาติ
3 อับดุลอายี สาแม็ง พรรคประชาชาติ
ระนอง 1 คงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์ พรรคภูมิใจไทย
สงขลา 1 วันชัย ปริญญาศิริ พรรคพลังประชารัฐ
2 ศาสตรา ศรีปาน พรรคพลังประชารัฐ
3 พยม พรหมเพชร พรรคพลังประชารัฐ
4 ร้อยตำรวจเอก อรุณ สวัสดี พรรคพลังประชารัฐ
5 เดชอิศม์ ขาวทอง พรรคประชาธิปัตย์
6 ถาวร เสนเนียม พรรคประชาธิปัตย์
7 ณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ พรรคภูมิใจไทย
8 พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่ พรรคประชาธิปัตย์
สตูล 1 พิบูลย์ รัชกิจประการ พรรคภูมิใจไทย
2 วรศิษฎ์ เลียงประสิทธิ์ พรรคภูมิใจไทย
สุราษฎร์ธานี 1 ภานุ ศรีบุศยกาญจน์ พรรคประชาธิปัตย์
2 วิวรรธน์ นิลวัชรมณี พรรคประชาธิปัตย์
3 วชิราภรณ์ กาญจนะ พรรคประชาธิปัตย์
4 สมชาติ ประดิษฐพร พรรคประชาธิปัตย์
5 สินิตย์ เลิศไกร พรรคประชาธิปัตย์
6 ธีรภัทร พริ้งศุลกะ พรรคประชาธิปัตย์

ภาคตะวันออก

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
จันทบุรี 1 พันตำรวจโท ฐนภัทร กิตติวงศา พรรคพลังประชารัฐ เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
2 จารึก ศรีอ่อน พรรคพลังท้องถิ่นไท เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3 ญาณธิชา บัวเผื่อน พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
ฉะเชิงเทรา 1 กิตติชัย เรืองสวัสดิ์ พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[55]
2 ชัยวัฒน์ เป้าเปี่ยมทรัพย์ พรรคพลังประชารัฐ
3 สุชาติ ตันเจริญ พรรคพลังประชารัฐ
4 จิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
ชลบุรี 1 สุชาติ ชมกลิ่น พรรคพลังประชารัฐ
2 ร้อยเอก จองชัย วงศ์ทรายทอง พรรคพลังประชารัฐ
3 รณเทพ อนุวัฒน์ พรรคพลังประชารัฐ
4 สรวุฒิ เนื่องจำนงค์ พรรคพลังประชารัฐ
5 ขวัญเลิศ พานิชมาท พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
6 จรัส คุ้มไข่น้ำ พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
7 กวินนาถ ตาคีย์ พรรคพลังท้องถิ่นไท เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
8 สะถิระ เผือกประพันธุ์ พรรคพลังประชารัฐ
ตราด 1 ศักดินัย นุ่มหนู พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
ปราจีนบุรี 1 อำนาจ วิลาวัลย์ พรรคภูมิใจไทย
2 ชยุต ภุมมะกาญจนะ พรรคภูมิใจไทย
3 สฤษดิ์ บุตรเนียร พรรคภูมิใจไทย
ระยอง 1 สาธิต ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
2 บัญญัติ เจตนจันทร์ พรรคประชาธิปัตย์
3 ธารา ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
4 สมพงษ์ โสภณ พรรคพลังประชารัฐ
สระแก้ว 1 ฐานิสร์ เทียนทอง พรรคพลังประชารัฐ
2 ตรีนุช เทียนทอง พรรคพลังประชารัฐ
3 สุรศักดิ์ ชิงนวรรณ์ พรรคพลังประชารัฐ

ภาคตะวันตก

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาญจนบุรี 1 พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ พรรคพลังประชารัฐ
2 สมเกียรติ วอนเพียร พรรคพลังประชารัฐ
3 ยศวัฒน์ มาไพศาลสิน พรรคภูมิใจไทย
4 ธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ พรรคพลังประชารัฐ
5 อัฎฐพล โพธิพิพิธ พรรคพลังประชารัฐ
ตาก 1 ธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ พรรคพลังประชารัฐ
2 ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
3 ภาคภูมิ บูลย์ประมุข พรรคพลังประชารัฐ
ประจวบคีรีขันธ์ 1 มนตรี ปาน้อยนนท์ พรรคประชาธิปัตย์
2 พรเทพ วิสุทธิ์วัฒนศักดิ์ พรรคเพื่อไทย
3 ประมวล พงศ์ถาวราเดช พรรคประชาธิปัตย์
เพชรบุรี 1 กฤษณ์ แก้วอยู่ พรรคพลังประชารัฐ
2 สาธิต อุ๋ยตระกูล พรรคพลังประชารัฐ
3 สุชาติ อุสาหะ พรรคพลังประชารัฐ
ราชบุรี 1 กุลวลี นพอมรบดี พรรคพลังประชารัฐ
2 บุญยิ่ง นิติกาญจนา พรรคพลังประชารัฐ
3 ปารีณา ไกรคุปต์ พรรคพลังประชารัฐ
4 อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ พรรคประชาธิปัตย์
5 บุญลือ ประเสริฐโสภา พรรคภูมิใจไทย

ประชากรศาสตร์

อายุเฉลี่ยของ ส.ส. 498 คนที่ กกต. ประกาศรายชื่ออยู่ที่ 52 ปี ส.ส. อายุน้อยที่สุด คือ เพชรชมพู กิจบูรณะ (25 ปี) (พรรครวมพลังประชาชาติไทย)[56] และ ส.ส. อายุมากที่สุด คือ ชัย ชิดชอบ (91 ปี) (พรรคภูมิใจไทย)[57] แบ่งเป็นชาย 418 คน หญิง 76 คน และ LGBT 4 คน[57]

ส.ส. 309 คน คิดเป็นร้อยละ 62 ของสภา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท รองลงมาคือจบปริญญาตรี 127 คน คิดเป็นร้อยละ 25, ปริญญาเอก 48 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และต่ำกว่าปริญญาตรี 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3[57] ในสภาชุดดังกล่าว สมาชิกไม่เคยได้รับเลือกตั้ง 250 คน[57]

"ส.ส. เอื้ออาทร"

ส.ส. เอื้ออาทร เป็นชื่อเรียก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 11 คน จากพรรคการเมืองขนาดเล็กซึ่งได้คะแนนเสียงต่ำกว่า 71,000 คะแนนจำนวน 11 พรรค ที่ได้รับการจัดสรรมาตามสูตรคำนวณ ส.ส. ของ กกต.[58] หลังการประกาศรับรอง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ได้เกิดกระแสการวิพากษ์วิจารณ์และการติดแฮชแท็กบนทวิตเตอร์[59][60] แต่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและพรรคการเมืองบางพรรคเห็นว่า อาจขัดต่อกฎหมาย และเอื้อประโยชน์ให้แก่พวกพ้อง[61] จึงเป็นที่มาของชื่อดังกล่าว

เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ตัวแทนพรรคการเมืองขนาดเล็ก 11 พรรคได้แถลงมติร่วมกันยืนยันสนับสนุนพรรคพลังประชารัฐเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และลงคะแนนให้พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัย[62]

ส.ส. เอื้ออาทรทั้ง 10 คน มีรายชื่อดังนี้

  1. ปรีดา บุญเพลิง (ครูไทยเพื่อประชาชน)
  2. พีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค (ไทรักธรรม) (เริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกครั้งวันที่ 28 มกราคม 2563 หลังจากพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2562)
  3. มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ (ไทยศรีวิไลย์)
  4. พิเชษฐ สถิรชวาล (ประชาธรรมไทย)
  5. สุรทิน พิจารณ์ (ประชาธิปไตยใหม่)
  6. พลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ (ประชานิยม)
  7. สมเกียรติ ศรลัมพ์ (ประชาภิวัฒน์)
  8. ระวี มาศฉมาดล (พลังธรรมใหม่)
  9. คฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล (พลังไทยรักไทย)
  10. ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ (พลเมืองไทย)

คณะกรรมาธิการ

คณะกรรมการสามัญ

ชื่อ ประธาน พรรค
คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ว่าง ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร อนันต์ ผลอำนวย พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน จิรายุ ห่วงทรัพย์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการกีฬา บุญลือ ประเสริฐโสภา ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ มุกดา พงษ์สมบัติ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ วุฒิพงษ์ นามบุตร ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ กันตวรรณ ตันเถียร ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการคมนาคม โสภณ ซารัมย์ ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ ว่าง ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค มานะ โลหะวณิชย์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน สมศักดิ์ พันธ์เกษม พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ ศราวุธ เพชรพนมพร เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการตำรวจ นิโรธ สุนทรเลขา พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ ไชยา พรหมา เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการทหาร พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว คงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์ ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการปกครอง ไพจิต ศรีวรขาน เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนท้องถิ่น และการบริหารราชการรูปแบบพิเศษ ซูการ์โน มะทา ประชาชาติ
คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด นิพันธ์ ศิริธร พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย วุฒิชัย กิตติธเนศวร เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ พลตำรวจเอกเสรีพิศุทธ์ เตมียเวส เสรีรวมไทย
คณะกรรมาธิการการพลังงาน กิตติกร โล่ห์สุนทร เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน ปดิพัทธ์ สันติภาดา ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ ศิริกัญญา ตันสกุล ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา อันวาร์ สาและ ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สุเทพ อู่อ้น ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม อัครวัฒน์ อัศวเหม พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาราคาผลิตผลเกษตรกรรม ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ชาติไทยพัฒนา
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สุชาติ อุสาหะ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการศึกษา นพคุณ รัฐผไท เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม รังสิมา รอดรัศมี ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข ปกรณ์ มุ่งเจริญพร ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กัลยา รุ่งวิจิตรชัย พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ เพื่อไทย

คณะกรรมการวิสามัญ

ชื่อ ประธาน พรรค
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. .... วิเชียร ชวลิต พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญยกร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. .... วิเชียร ชวลิต พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำ วีระกร คำประกอบ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและรถไฟฟ้า (บีทีเอส) สภาผู้แทนราษฎร วีระกร คำประกอบ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการยกร่างข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. .... วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประชาชาติ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการควบคุมการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม สภาผู้แทนราษฎร ชวลิต วิชยสุทธิ์ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สภาผู้แทนราษฎร อุตตม สาวนายน พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้ำทั้งระบบ ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการลอบประทุษร้ายประชาชน พรชัย ตระกูลวรานนท์ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค คณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการการชำระหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ชินวรณ์ บุณยเกียรติ ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ อนันต์ ผลอำนวย พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระทำชำเราและการล่วงละเมิดทางเพศ โกวิทย์ พวงงาม พลังท้องถิ่นไท
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร อธิรัฐ รัตนเศรษฐ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้กัญชา กัญชง และกระท่อมอย่างเป็นระบบ สภาผู้แทนราษฎร พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาที่ดินและการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ประภัตร โพธสุธน ชาติไทยพัฒนา
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการประกอบธุรกิจออนไลน์และการทำธุรกรรมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ ภูมิใจไทย

เชิงอรรถ

  1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 100 ระบุว่า "สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง"
  2. หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 8 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2562 (26 พฤษภาคม 2562)
  3. หลังการยุบพรรคประชาชนปฏิรูป
  4. หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2562 (23 ตุลาคม 2562)
  5. หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น เขต 7 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2562 (22 ธันวาคม 2562)
  6. หลังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 คน ที่ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ มีสังกัดพรรคการเมืองใหม่ครบทั้ง 4 คน
  7. กกต.ปรับสูตรคำนวณสส.บัญชีรายชื่อใหม่ ภายหลังนายชาติชาย วรพิพัฒน์ ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ ถูกศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งพิพากษาให้โดนใบดำ
  8. ศาลรัฐธรรมนูญมีวินิจฉัยให้ยุบพรรคอนาคตใหม่
  9. ส.ส. ที่สังกัดพรรคอนาคตใหม่เดิมเข้ากับพรรคภูมิใจไทย 9 คน
  10. ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจถูกศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ยุติการปฏิบัติหน้าที่ ส.ส.
  11. ศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาว่าผู้คัดค้านกระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๗๓ วรรคหนึ่ง (๕) โดยการใส่ร้ายด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือจูงใจให้เข้าใจผิดในคะแนนนิยมของผู้สมัครและพรรคการเมืองเพื่อจูงใจผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนให้แก่ตนเองหรือผู้สมัครอื่นการกระทำของผู้คัดค้านดังกล่าวย่อมเป็นการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยวิธีการอันมิชอบด้วยกฎหมายอันเป็นการทุจริตในการเลือกตั้ง ให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของ นายชาติชาย วรพิพัฒน์ ผู้คัดค้านมีกำหนดสิบปีนับแต่วันที่มีคำพิพากษา ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 226 วรรคสาม ประกอบพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๘ วรรคหนึ่ง นั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งจึงมีมติให้คำนวณเพื่อหาจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองใหม่ โดยมีวิธีการคำนวณ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๑ วรรคสอง
  12. รวมมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ ยังเป็นฝ่ายค้านอยู่ หลังไม่เห็นด้วยกับการลาออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้านของมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคเศรษฐกิจใหม่
  13. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 91 วรรคสี่ ระบุว่า "เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสมาชิกที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้ถือว่าการสิ้นสภาพของพรรคการเมืองตามมาตรานี้ เป็นการถูกยุบพรรคการเมือง"
  14. รอคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้ง หากศาลฎีกามีคำพิพากษายืน(ให้ใบเหลือง)ตามที่ กกต.ยื่นคำร้องจะต้องจัดการเลือกตั้งใหม่
  15. ก่อนหน้านี้สุรพล เกียรติไชยากรจากพรรคเพื่อไทยชนะการเลือกตั้งในเขตนี้ แต่ต่อมา กกต. สั่งเพิกถอนสิทธิ และสั่งการเลือกตั้งใหม่ ทั้งนี้ สุรพลไม่ได้เป็น ส.ส. เมื่อมีการเปิดประชุมสภาฯ

อ้างอิง

  1. พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป)
  2. พระราชกฤษฎีกาปิดประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง พ.ศ. ๒๕๖๒ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป)
  3. พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง พ.ศ. ๒๕๖๒ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป)
  4. พระราชกฤษฎีกาปิดประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง พ.ศ. ๒๕๖๓ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นไป)
  5. พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง พ.ศ. ๒๕๖๓ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นไป)
  6. พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมสมัยวิสามัญแห่งรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมวิสามัญรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป)
  7. พระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสมัยวิสามัญแห่งรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมวิสามัญรัฐสภาตั้งแต่วันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป)
  8. bbc.com. 25 พฤษภาคม 2562 https://www.bbc.com/thai/thailand-48408325. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  9. เลือกตั้ง 2562 : คะแนนเสียงเลือกตั้งบอกอะไรในการเมืองไทยบ้าง
  10. ด่วน ศาลรัฐธรรมนูญอ่านคำวินิจฉัย “นวัธ เตาะเจริญสุข” พ้นสมาชิกภาพ ส.ส.
  11. "อนาคตใหม่"ขับ 4 ส.ส.โหวตสวนพ้นจากพรรค
  12. เศรษฐกิจใหม่ลาออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน
  13. “มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์” ย้ำชัดๆ แม้เหลือคนเดียวก็จะอยู่ฝ่ายค้าน ลั่น แยกทางกับเศรษฐกิจใหม่ที่อุดมการณ์ไม่ตรงกัน แต่ยังไม่ลาออกจากพรรค
  14. รับทราบเรื่อง สถานภาพการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
  15. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 2019-05-10.
  16. “ดร.แหม่ม” ยื่นใบลาออก จาก ส.ส.พรรคพลังประชารัฐ ลุ้นตำแหน่ง โฆษกรัฐบาล
  17. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายพรชัย ตระกูลวรานนท์)
  18. ไพบูลย์ นิติตะวัน ส.ส. พรรคพลังประชารัฐ ค้านสอบปมถวายสัตย์ฯ ชี้ไม่มีใครมีอำนาจ
  19. ‘ไพบูลย์’ เตือนซักฟอกถวายสัตย์ ระวังผิดอาญา ‘ชวน’ เมิน ไฟเขียวให้ซักฟอกต่อ
  20. 'จุติ' ลาออกพ้นส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ 'อิสระ' ขยับเสียบแทน
  21. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้งเรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ ๒)
  22. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง
  23. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายพิสิฐ ลี้อาธรรม)
  24. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายอิสระ เสรีวัฒนวุฒิ)
  25. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวพิมพ์รพี พันธ์วิชาติกุล)
  26. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (พรรคประชาธิปัตย์ ลำดับที่ ๒๖ นายจักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์)
  27. 27.0 27.1 ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองในลำดับท้ายพ้นจากตำแหน่งและให้ผู้มีรายชื่อในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ [ลำดับที่ ๑ พรรคไทรักธรรม นายพีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค
  28. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีช่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งท่ว่าง (พันเอก เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย)
  29. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีช่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งท่ว่าง (นายมารุต มัสยวณิช พรรคภูมิใจไทย)
  30. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่องให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสวาป เผ่าประทาน พรรคภูมิใจไทย)
  31. 31.0 31.1 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง
  32. เลขาฯ รปช. ลาออก ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ พรรคดัน "จุฑาฑัตต" ขึ้นนั่งแทน
  33. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวจุฑาฑัตต เหล่าธรรมทัศน์ พรรครวมพลังประชาชาติไทย)
  34. ประกาศสภาผู้แทนราษฎรเรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางนันทนา สงฆ์ประชา)
  35. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ ๒) ๑. รายชื่อพรรคการเมืองและผู้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
  36. การประกาศผลการคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อใหม่
  37. คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ ๑๔/๒๕๖๒ เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๒ ว่า สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ของ นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๑ (๖) ประกอบมาตรา ๙๘ (๓) หรือไม่ (ระหว่าง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ร้อง นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้ถูกร้อง)
  38. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่อในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายมานพ คีรีภูวดล)
  39. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง พรรคประชาชนปฏิรูปสิ้นสภาพความเป็นพรรคการเมือง
  40. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  41. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  42. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร เขตเลือกตั้งที่ ๒ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๓
  43. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดกำแพงเพชร เขตเลือกตั้งที่ ๒ นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ พรรคพลังประชารัฐ)
  44. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เขตเลือกตั้งที่ ๕ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๒
  45. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดนครปฐม เขตเลือกตั้งที่ ๕ นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ พรรคชาติไทยพัฒนา)
  46. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  47. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  48. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  49. ‘อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์’ ส.ส.ลำปาง พรรคเพื่อไทย ติดเชื้อในกระแสเลือดเสียชีวิต
  50. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง เขตเลือกตั้งที่ ๔ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๓
  51. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  52. คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ ๑๒/๒๕๖๒ เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๒ ว่า สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ นายนวัธ เตาะเจริญสุข สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๑ (๖) ประกอบมาตรา ๙๘ (๖) หรือไม่ (ระหว่าง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ร้อง นายนวัธ เตาะเจริญสุข ผู้ถูกร้อง)
  53. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น เขตเลือกตั้งที่ ๗ แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๖๒
  54. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดขอนแก่น เขตเลือกตั้งที่ ๗ นายสมศักดิ์ คุณเงิน พรรคพลังประชารัฐ)
  55. 9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ “ภูมิใจไทย” อย่างเป็นทางการ
  56. ใครคือ ‘น้องเพชร’ ส.ส.หน้าใหม่ พรรคลุงกำนัน น้องเล็กสุด อายุเท่านี้ ดีกรีไม่เบา!
  57. 57.0 57.1 57.2 57.3 เลือกตั้ง 62 | 498 ส.ส. หน้าใหม่ครึ่ง จบ ป.โท มากที่สุด ทหาร-ตำรวจ 15 คน
  58. "เลือกตั้ง 2562 : มติเอกฉันท์ ศาลรัฐธรรมนูญชี้ พ.ร.ป. ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ". bbc.com. BBC Thai. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  59. "แฮชแท็ก #สสเอื้ออาทร ทะยานติดอันดับ หลังเห็นผลประกาศ ส.ส.บัญชีรายชื่อ". kapook.com. Kapook.com. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  60. "ทวิตกระหน่ำเดือด! ส.ส.เอื้ออาทร หลังกกต.รับรองผล พรรคแต้มน้อย ตบเท้าเข้าสภา". khaosod.co.th. ข่าวสด. 8 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  61. "ปชป.ออกโรงค้านสูตรคำนวณปาร์ตี้ลิสต์ กกต. ชี้ขัด รธน.-กม.เลือกตั้ง เตรียมหาช่องฟ้องร้องปฏิบัติหน้าที่มิชอบ". matichon.co.th. มติชน. 9 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  62. "มติ 11 พรรคเล็ก หนุนพปชร.เป็นแกนนำตั้งรัฐบาล โหวตบิ๊กตู่นั่งนายกฯ (คลิป)". thairath.co.th. ไทยรัฐ. 13 พฤษภาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น