ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บลูส์ร็อก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sard112 (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''บลูส์ร็อก''' ({{lang-en|Blues-rock}}) เป็น[[แนวเพลง]]ผสมผสานระหว่างการแสดง[[คีตปฏิภาณ]]แบบ[[บลูส์]] บนคอร์ดแบบ [[12 บาร์บลูส์]]และการแจมแบบ[[บูกี้]]กับสไตล์[[ร็อกแอนด์โรล]] โดยแกนหลักของบลูส์-ร็อก คือเครื่องดนตรี[[กีตาร์ไฟฟ้า]] [[กีตาร์เบส]]และ[[กลองชุด]] ซึ่งกีตาร์ไฟฟ้าจะขยายผ่านตู้แอมไฟฟ้า ให้มีลักษณะรุนแรงมากขึ้น
'''บลูส์ร็อก''' ({{lang-en|blues rock}}) เป็น[[แนวเพลง]]ผสมผสานระหว่างการแสดง[[คีตปฏิภาณ]]แบบ[[บลูส์]] บนคอร์ดแบบ [[12 บาร์บลูส์]]และการแจมแบบ[[บูกี้]]กับสไตล์[[ร็อกแอนด์โรล]] โดยแกนหลักของบลูส์-ร็อก คือเครื่องดนตรี[[กีตาร์ไฟฟ้า]] [[กีตาร์เบส]]และ[[กลองชุด]] ซึ่งกีตาร์ไฟฟ้าจะขยายผ่านตู้แอมไฟฟ้า ให้มีลักษณะรุนแรงมากขึ้น


แนวเพลงนี้เริ่มพัฒนาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่ปิเอโร สการัฟฟีเรียกว่า "เป็นแนวเพลงริทึมแอนด์บลูส์ที่เล่นโดยนักดนตรีขาวชาวยุโรป"<ref>P. Scaruffi, "A History of Rock and Dance Music", http://www.scaruffi.com/history/cpt22.html, accessed 23/06/09.</ref> วงดนตรีอังกฤษอย่างเช่น [[เดอะฮู]], [[เดอะยาร์ดเบิร์ดส]], [[เลดเซปเพลิน]], [[ดิแอนนิมอลส์]], [[ครีม]] และ[[เดอะโรลลิงสโตนส์]] ได้ทดลองดนตรีดังกล่าวจากศิลปินบลูส์ชาวอเมริกัน อย่าง ฮาวลิน วูล์ฟ, โรเบิร์ต จอห์นสัน, จิมมี ลีดและ[[มัดดี วอเตอร์ส]]<ref name="amg"/> ขณะที่วงบลูส์ร็อกยุคแรก "จะพยายามเล่นเพลงแจ๊ซยาว ๆ ที่มีลักษณะคีตปฏิภาณ อย่างเห็นได้ชัด"<ref name="amg" /> โดย[[คริสต์ทศวรรษ 1970]] บลูส์ร็อกเริ่มหนักขึ้นกับเน้นท่อนริฟฟ์<ref name="amg">"Blues-rock," ''Allmusic.com'' (Accessed September 29 2006), <http://www.allmusic.com/explore/style/blues-rock-d50></ref> และในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เส้นแบ่งระหว่างบลูส์ร็อกและ[[ฮาร์ดร็อก]]เกือบจะไม่เห็น<ref name="amg" /> วงแนวนี้บันทึกเสียงอัลบั้มแนวร็อก และในคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 ก็เริ่มกลับมาที่รากบลูส์เดิม และมีศิลปินอย่าง "เฟบูลัสธันเดอร์เบิร์ดสและ[[สตีวี เรย์ วอแกน]] สร้างชื่อเสียงวงการร็อกขึ้น"<ref name="amg" />
แนวเพลงนี้เริ่มพัฒนาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่ปิเอโร สการัฟฟีเรียกว่า "เป็นแนวเพลงริทึมแอนด์บลูส์ที่เล่นโดยนักดนตรีขาวชาวยุโรป"<ref>P. Scaruffi, "A History of Rock and Dance Music", http://www.scaruffi.com/history/cpt22.html, accessed 23/06/09.</ref> วงดนตรีอังกฤษอย่างเช่น [[เดอะฮู]], [[เดอะยาร์ดเบิร์ดส]], [[เลดเซปเพลิน]], [[ดิแอนนิมอลส์]], [[ครีม]] และ[[เดอะโรลลิงสโตนส์]] ได้ทดลองดนตรีดังกล่าวจากศิลปินบลูส์ชาวอเมริกัน อย่าง ฮาวลิน วูล์ฟ, โรเบิร์ต จอห์นสัน, จิมมี ลีดและ[[มัดดี วอเตอร์ส]]<ref name="amg"/> ขณะที่วงบลูส์ร็อกยุคแรก "จะพยายามเล่นเพลงแจ๊ซยาว ๆ ที่มีลักษณะคีตปฏิภาณ อย่างเห็นได้ชัด"<ref name="amg" /> โดย[[คริสต์ทศวรรษ 1970]] บลูส์ร็อกเริ่มหนักขึ้นกับเน้นท่อนริฟฟ์<ref name="amg">"Blues-rock," ''Allmusic.com'' (Accessed September 29 2006), <http://www.allmusic.com/explore/style/blues-rock-d50></ref> และในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เส้นแบ่งระหว่างบลูส์ร็อกและ[[ฮาร์ดร็อก]]เกือบจะไม่เห็น<ref name="amg" /> วงแนวนี้บันทึกเสียงอัลบั้มแนวร็อก และในคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 ก็เริ่มกลับมาที่รากบลูส์เดิม และมีศิลปินอย่าง "เฟบูลัสธันเดอร์เบิร์ดสและ[[สตีวี เรย์ วอห์น]] สร้างชื่อเสียงวงการร็อกขึ้น"<ref name="amg" />


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:46, 14 พฤษภาคม 2563

บลูส์ร็อก (อังกฤษ: blues rock) เป็นแนวเพลงผสมผสานระหว่างการแสดงคีตปฏิภาณแบบบลูส์ บนคอร์ดแบบ 12 บาร์บลูส์และการแจมแบบบูกี้กับสไตล์ร็อกแอนด์โรล โดยแกนหลักของบลูส์-ร็อก คือเครื่องดนตรีกีตาร์ไฟฟ้า กีตาร์เบสและกลองชุด ซึ่งกีตาร์ไฟฟ้าจะขยายผ่านตู้แอมไฟฟ้า ให้มีลักษณะรุนแรงมากขึ้น

แนวเพลงนี้เริ่มพัฒนาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่ปิเอโร สการัฟฟีเรียกว่า "เป็นแนวเพลงริทึมแอนด์บลูส์ที่เล่นโดยนักดนตรีขาวชาวยุโรป"[3] วงดนตรีอังกฤษอย่างเช่น เดอะฮู, เดอะยาร์ดเบิร์ดส, เลดเซปเพลิน, ดิแอนนิมอลส์, ครีม และเดอะโรลลิงสโตนส์ ได้ทดลองดนตรีดังกล่าวจากศิลปินบลูส์ชาวอเมริกัน อย่าง ฮาวลิน วูล์ฟ, โรเบิร์ต จอห์นสัน, จิมมี ลีดและมัดดี วอเตอร์ส[4] ขณะที่วงบลูส์ร็อกยุคแรก "จะพยายามเล่นเพลงแจ๊ซยาว ๆ ที่มีลักษณะคีตปฏิภาณ อย่างเห็นได้ชัด"[4] โดยคริสต์ทศวรรษ 1970 บลูส์ร็อกเริ่มหนักขึ้นกับเน้นท่อนริฟฟ์[4] และในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เส้นแบ่งระหว่างบลูส์ร็อกและฮาร์ดร็อกเกือบจะไม่เห็น[4] วงแนวนี้บันทึกเสียงอัลบั้มแนวร็อก และในคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 ก็เริ่มกลับมาที่รากบลูส์เดิม และมีศิลปินอย่าง "เฟบูลัสธันเดอร์เบิร์ดสและสตีวี เรย์ วอห์น สร้างชื่อเสียงวงการร็อกขึ้น"[4]

อ้างอิง

  1. Weinstein, Deena. Heavy Metal: The Music and its Culture. DaCapo, 2000. ISBN 0-306-80970-2, pg. 14.
  2. Christe, Ian. Sound of the Beast. Allison & Busby. p. 1. ISBN 0749083514.
  3. P. Scaruffi, "A History of Rock and Dance Music", http://www.scaruffi.com/history/cpt22.html, accessed 23/06/09.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 "Blues-rock," Allmusic.com (Accessed September 29 2006), <http://www.allmusic.com/explore/style/blues-rock-d50>