ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)"

พิกัด: 13°44′23″N 100°31′57″E / 13.739672°N 100.532390°E / 13.739672; 100.532390
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดง[[นิทรรศการ]]ถาวร เกี่ยวกับภาพรวมของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ในด้านต่าง ๆ ทั้งผลงานอันเกิดจาก[[การวิจัย]] และ[[องค์ความรู้]]ที่มหาวิทยาลัยได้ผลิตขึ้น ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย พัฒนาการทางด้านกายภาพ ความเป็นอยู่ของนิสิต ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมไทย<ref>"อาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย." พิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Accessed April 10, 2017. http://www.chula.ac.th/th/archive/museum/3577.</ref>
'''พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดง[[นิทรรศการ]]ถาวร เกี่ยวกับภาพรวมของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ในด้านต่าง ๆ ทั้งผลงานอันเกิดจาก[[การวิจัย]] และ[[องค์ความรู้]]ที่มหาวิทยาลัยได้ผลิตขึ้น ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย พัฒนาการทางด้านกายภาพ ความเป็นอยู่ของนิสิต ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมไทย<ref>"อาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย." พิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Accessed April 10, 2017. http://www.chula.ac.th/th/archive/museum/3577.</ref>


อาคารแห่งนี้ เดิมเป็นอาคารเรียนของภาควิชาเคมี [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ชื่อว่า อาคารเคมี 3 เป็นอาคารสูง 4 ชั้น<ref>"ข้อมูลอาคาร พิพิธภัณฑ์จุฬา | สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." ข้อมูลอาคาร พิพิธภัณฑ์จุฬา | สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Accessed April 10, 2017. http://www.prm.chula.ac.th/cen081.html.</ref> ได้รับการปรับปรุงเป็น[[พิพิธภัณฑ์]]เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 100 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่จะมีขึ้นในปี [[พ.ศ. 2560]] ตัวอาคารได้รับการปรับปรุงให้มีความทันสมัย ลดความปิดทึบของตัวอาคาร[[คอนกรีตเสริมแรง|คอนกรีตเสริมเหล็กเดิม]] โดยใช้[[กระจก]]กับโครงสร้าง[[เหล็ก]] และปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อกับผู้ชมทุกกลุ่ม(Universal Design)<ref name=":0">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม. "พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย." สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. January 01, 1970. Accessed April 10, 2017. http://culturalartcu.blogspot.com/2013/05/blog-post_9046.html.</ref>
อาคารแห่งนี้ เดิมเป็นอาคารเรียนของภาควิชาเคมี [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ชื่อว่า อาคารเคมี 3 เป็นอาคารสูง 4 ชั้น<ref>"ข้อมูลอาคาร พิพิธภัณฑ์จุฬา | สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." ข้อมูลอาคาร พิพิธภัณฑ์จุฬา | สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Accessed April 10, 2017. http://www.prm.chula.ac.th/cen081.html.</ref> ได้รับการปรับปรุงเป็น[[พิพิธภัณฑ์]]เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 100 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่จะมีขึ้นในปี [[พ.ศ. 2560]] ตัวอาคารได้รับการปรับปรุงให้มีความทันสมัย ลดความปิดทึบของตัวอาคาร[[คอนกรีตเสริมแรง|คอนกรีตเสริมเหล็กเดิม]] โดยใช้[[กระจก]]กับโครงสร้าง[[เหล็ก]] และปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อกับผู้ชมทุกกลุ่ม (Universal Design)<ref name=":0">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม. "พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย." สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. January 01, 1970. Accessed April 10, 2017. http://culturalartcu.blogspot.com/2013/05/blog-post_9046.html.</ref>


[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสร็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยในวันที่ [[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2557]] ในวาระ 97 ปีแห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>"สมเด็จพระเทพฯ” ทรงร่วมงานวันครบรอบ 97 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." สำนักข่าวเจ้าพระยา. March 26, 2014. Accessed April 10, 2017. http://www.chaoprayanews.com/2014/03/26/สมเด็จพระเทพฯ-ทรงร่วมง/.</ref>
[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในวันที่ [[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2557]] ในวาระ 97 ปีแห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>"สมเด็จพระเทพฯ” ทรงร่วมงานวันครบรอบ 97 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." สำนักข่าวเจ้าพระยา. March 26, 2014. Accessed April 10, 2017. http://www.chaoprayanews.com/2014/03/26/สมเด็จพระเทพฯ-ทรงร่วมง/.</ref>


== จัดแสดง ==
== จัดแสดง ==
พื้นที่ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถูกแบ่งออกเป็น 4 ชั้น แต่ละชั้นจะมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ทำให้พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการถูกแบ่งให้กระจายไปตามชั้นทั้ง 4 ดังต่อไปนี้<ref name=":0" />
พื้นที่ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถูกแบ่งออกเป็น 4 ชั้น แต่ละชั้นจะมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ทำให้พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการถูกแบ่งให้กระจายไปตามชั้นทั้ง 4 ดังต่อไปนี้<ref name=":0" />
* '''ชั้นที่ 1''' - เป็นพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียน ที่เปิดให้นิสิต บุคลากรภายในและหน่วยงานต่าง ๆ ใช้จัดแสดงงานศิลปะ และงานด้านศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ<ref name=":0" />[[ไฟล์:CU-Museum Frontroom.jpg|left|thumb|ห้องศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย]]
* '''ชั้นที่ 1''' - เป็นพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียน ที่เปิดให้นิสิต บุคลากรภายในและหน่วยงานต่าง ๆ ใช้จัดแสดงงานศิลปะ และงานด้านศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ<ref name=":0" />[[ไฟล์:CU-Museum Frontroom.jpg|left|thumb|ห้องศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย]]
*'''ชั้นที่ 2''' - เป็นที่ตั้งของห้องจัดแสดงชื่อว่า '''"ศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย"''' นำเสนอหน้าที่หลักของการเป็นมหาวิทยาลัยที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ปฏิบัติมาตลอด 100 ปี คือการผลิตองค์ความรู้และผลงานจากองค์ความรู้เหล่านั้น โดยจัดแสดงบนแผ่นแก้วเรียงรายตามปีนับตั้งแต่สถาปนามหาวิทยาลัย ในปี [[พ.ศ. 2460]] ทางเดินแผ่นแก้วจะนำผู้ชมเข้าไปภายในห้องที่จำลองร่มไม้[[จามจุรี]] ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ภายในห้องนำเสนอผลงานและความสำเร็จทางวิชาการต่าง ๆ ด้วย[[สื่อผสม]]อัตโนมัติที่เปิดโอกาสให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วม(Interactive Exhibition)<ref name=":0" />
*'''ชั้นที่ 2''' - เป็นที่ตั้งของห้องจัดแสดงชื่อว่า '''"ศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย"''' นำเสนอหน้าที่หลักของการเป็นมหาวิทยาลัยที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ปฏิบัติมาตลอด 100 ปี คือการผลิตองค์ความรู้และผลงานจากองค์ความรู้เหล่านั้น โดยจัดแสดงบนแผ่นแก้วเรียงรายตามปีนับตั้งแต่สถาปนามหาวิทยาลัย ในปี [[พ.ศ. 2460]] ทางเดินแผ่นแก้วจะนำผู้ชมเข้าไปภายในห้องที่จำลองร่มไม้[[จามจุรี]] ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ภายในห้องนำเสนอผลงานและความสำเร็จทางวิชาการต่าง ๆ ด้วย[[สื่อผสม]]อัตโนมัติที่เปิดโอกาสให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วม (Interactive Exhibition)<ref name=":0" />
* '''ชั้นที่ 3''' - เป็นที่ตั้งของห้องจัดแสดงชื่อว่า '''"อุทยานจามจุรี"''' เป็นห้องที่จัดแสดงพัฒนาการทางกายภาพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงระยะเวลา 90 ปี ภายในห้องจะมีข้อมูลพร้อมภาพประกอบอธิบายให้ผู้ชมเข้าใจ มีแบบจำลองแผนผังมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ที่ผู้ชมสามารถเปิด-ปิด ไฟอาคารในแต่ยุคของมหาวิทยาลัย และมีห้องชม[[วีดีทัศน์]]เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างและลักษณะทาง[[สถาปัตยกรรม]]ของอาคารภายในมหาวิทยาลัยด้วย
* '''ชั้นที่ 3''' - เป็นที่ตั้งของห้องจัดแสดงชื่อว่า '''"อุทยานจามจุรี"''' เป็นห้องที่จัดแสดงพัฒนาการทางกายภาพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงระยะเวลา 90 ปี ภายในห้องจะมีข้อมูลพร้อมภาพประกอบอธิบายให้ผู้ชมเข้าใจ มีแบบจำลองแผนผังมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ที่ผู้ชมสามารถเปิด-ปิด ไฟอาคารในแต่ยุคของมหาวิทยาลัย และมีห้องชม[[วีดีทัศน์]]เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างและลักษณะทาง[[สถาปัตยกรรม]]ของอาคารภายในมหาวิทยาลัยด้วย
* '''ชั้นที่ 4''' - เป็นห้องจัดแสดงที่มีชื่อว่า '''"100 เรื่องจามจุรี 100 ปี จุฬาฯ"''' เป็นห้องที่ใช้[[สื่อผสม]]อัตโนมัติที่ผู้ชมสามารถมีส่วนร่วมได้(Interactive Exhibition) เพื่อจัดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการของมหาวิทยาลัยกับ[[สังคมไทย]] ที่สอดประสานกันอย่างแนบแน่น เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับยุค[[รัฐนิยม]] การถือกำเนิดของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อนำชาติพ้นจากภัย[[จักรวรรดินิยมในเอเชีย|จักรวรรดินิยม]] นิสิตจุฬาฯ กับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และภายในห้องจัดแสดงนี้ยังมีส่วนจัดแสดงผลผลิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งกล่าวถึงประวัติและชีวิตในจุฬาฯ ของนิสิตเก่าผู้เป็นบุคคลสำคัญ<ref>Chulauniversity. YouTube. March 25, 2017. Accessed April 11, 2017. https://www.youtube.com/watch?v=jrwRm67TMy4&t=17s.</ref> เช่น [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] [[สตางค์ มงคลสุข|ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข]] [[พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา]] เป็นต้น<ref name=":0" />
* '''ชั้นที่ 4''' - เป็นห้องจัดแสดงที่มีชื่อว่า '''"100 เรื่องจามจุรี 100 ปี จุฬาฯ"''' เป็นห้องที่ใช้[[สื่อผสม]]อัตโนมัติที่ผู้ชมสามารถมีส่วนร่วมได้ (Interactive Exhibition) เพื่อจัดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการของมหาวิทยาลัยกับ[[สังคมไทย]] ที่สอดประสานกันอย่างแนบแน่น เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับยุค[[รัฐนิยม]] การถือกำเนิดของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อนำชาติพ้นจากภัย[[จักรวรรดินิยมในเอเชีย|จักรวรรดินิยม]] นิสิตจุฬาฯ กับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และภายในห้องจัดแสดงนี้ยังมีส่วนจัดแสดงผลผลิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งกล่าวถึงประวัติและชีวิตในจุฬาฯ ของนิสิตเก่าผู้เป็นบุคคลสำคัญ<ref>Chulauniversity. YouTube. March 25, 2017. Accessed April 11, 2017. https://www.youtube.com/watch?v=jrwRm67TMy4&t=17s.</ref> เช่น [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] [[สตางค์ มงคลสุข|ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข]] [[พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา]] เป็นต้น<ref name=":0" />

[[ไฟล์:CU-Museum3-ChulainPolitic.jpg|center|thumb|712x712px|<center>ห้องจัดแสดงในชั้นที่ 4: นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการเมือง แสดงความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตนิสิตกับการเปลี่ยนแปลงของ[[ประเทศไทย]] นับตั้งแต่[[สงครามมหาเอเชียบูรพา]]จนถึง[[สงครามเย็น]]</center>]]
[[ไฟล์:CU-Museum3-ChulainPolitic.jpg|center|thumb|712x712px|<center>ห้องจัดแสดงในชั้นที่ 4: นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการเมือง แสดงความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตนิสิตกับการเปลี่ยนแปลงของ[[ประเทศไทย]] นับตั้งแต่[[สงครามมหาเอเชียบูรพา]]จนถึง[[สงครามเย็น]]</center>]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:19, 8 พฤษภาคม 2563

พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย
Chulalongkorn University Museum
พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แผนที่
ข้อมูลทั่วไป
ประเภทพิพิธภัณฑ์ภายในมหาวิทยาลัย
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรมสมัยใหม่
เมืองเขตปทุมวัน, กรุงเทพมหานคร
ประเทศประเทศไทย
พิกัด13°44′23″N 100°31′57″E / 13.739672°N 100.532390°E / 13.739672; 100.532390
ผู้สร้างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ห้องจัดแสดงชั้น 4 : อุทยานจามจุรี

พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงนิทรรศการถาวร เกี่ยวกับภาพรวมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในด้านต่าง ๆ ทั้งผลงานอันเกิดจากการวิจัย และองค์ความรู้ที่มหาวิทยาลัยได้ผลิตขึ้น ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย พัฒนาการทางด้านกายภาพ ความเป็นอยู่ของนิสิต ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมไทย[1]

อาคารแห่งนี้ เดิมเป็นอาคารเรียนของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชื่อว่า อาคารเคมี 3 เป็นอาคารสูง 4 ชั้น[2] ได้รับการปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 100 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่จะมีขึ้นในปี พ.ศ. 2560 ตัวอาคารได้รับการปรับปรุงให้มีความทันสมัย ลดความปิดทึบของตัวอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเดิม โดยใช้กระจกกับโครงสร้างเหล็ก และปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อกับผู้ชมทุกกลุ่ม (Universal Design)[3]

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 ในวาระ 97 ปีแห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[4]

จัดแสดง

พื้นที่ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถูกแบ่งออกเป็น 4 ชั้น แต่ละชั้นจะมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ทำให้พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการถูกแบ่งให้กระจายไปตามชั้นทั้ง 4 ดังต่อไปนี้[3]

  • ชั้นที่ 1 - เป็นพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียน ที่เปิดให้นิสิต บุคลากรภายในและหน่วยงานต่าง ๆ ใช้จัดแสดงงานศิลปะ และงานด้านศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ[3]
    ห้องศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย
  • ชั้นที่ 2 - เป็นที่ตั้งของห้องจัดแสดงชื่อว่า "ศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย" นำเสนอหน้าที่หลักของการเป็นมหาวิทยาลัยที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ปฏิบัติมาตลอด 100 ปี คือการผลิตองค์ความรู้และผลงานจากองค์ความรู้เหล่านั้น โดยจัดแสดงบนแผ่นแก้วเรียงรายตามปีนับตั้งแต่สถาปนามหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2460 ทางเดินแผ่นแก้วจะนำผู้ชมเข้าไปภายในห้องที่จำลองร่มไม้จามจุรี ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ภายในห้องนำเสนอผลงานและความสำเร็จทางวิชาการต่าง ๆ ด้วยสื่อผสมอัตโนมัติที่เปิดโอกาสให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วม (Interactive Exhibition)[3]
  • ชั้นที่ 3 - เป็นที่ตั้งของห้องจัดแสดงชื่อว่า "อุทยานจามจุรี" เป็นห้องที่จัดแสดงพัฒนาการทางกายภาพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงระยะเวลา 90 ปี ภายในห้องจะมีข้อมูลพร้อมภาพประกอบอธิบายให้ผู้ชมเข้าใจ มีแบบจำลองแผนผังมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ที่ผู้ชมสามารถเปิด-ปิด ไฟอาคารในแต่ยุคของมหาวิทยาลัย และมีห้องชมวีดีทัศน์เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างและลักษณะทางสถาปัตยกรรมของอาคารภายในมหาวิทยาลัยด้วย
  • ชั้นที่ 4 - เป็นห้องจัดแสดงที่มีชื่อว่า "100 เรื่องจามจุรี 100 ปี จุฬาฯ" เป็นห้องที่ใช้สื่อผสมอัตโนมัติที่ผู้ชมสามารถมีส่วนร่วมได้ (Interactive Exhibition) เพื่อจัดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการของมหาวิทยาลัยกับสังคมไทย ที่สอดประสานกันอย่างแนบแน่น เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับยุครัฐนิยม การถือกำเนิดของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อนำชาติพ้นจากภัยจักรวรรดินิยม นิสิตจุฬาฯ กับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และภายในห้องจัดแสดงนี้ยังมีส่วนจัดแสดงผลผลิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งกล่าวถึงประวัติและชีวิตในจุฬาฯ ของนิสิตเก่าผู้เป็นบุคคลสำคัญ[5] เช่น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นต้น[3]
ห้องจัดแสดงในชั้นที่ 4: นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการเมือง แสดงความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตนิสิตกับการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย นับตั้งแต่สงครามมหาเอเชียบูรพาจนถึงสงครามเย็น

ภาพภายในอาคาร

ห้องจัดแสดงในอาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยถูกออกแบบให้อธิบายข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเข้าใจง่าย มีสื่อผสมที่ตอบสนองการเคลื่อนไหวของผู้เข้าชม เป็นต้นว่าในส่วนจัดแสดงเกี่ยวกับหอพักนิสิต ผู้เข้าชมสามารถสั่นระฆังในห้องเพื่อจำลองการปลุกนิสิตหอพัก จากนั้นสื่อผสมต่าง ๆ จะเล่นขึ้นทันทีที่ได้รับข้อมูลเสียงจากระฆัง หรือโต๊ะฉายเอกสารสำคัญของมหาวิทยาลัยที่สามารถเปลี่ยนหน้าได้โดยการโบกมือ

อ้างอิง

  1. "อาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย." พิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Accessed April 10, 2017. http://www.chula.ac.th/th/archive/museum/3577.
  2. "ข้อมูลอาคาร พิพิธภัณฑ์จุฬา | สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." ข้อมูลอาคาร พิพิธภัณฑ์จุฬา | สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Accessed April 10, 2017. http://www.prm.chula.ac.th/cen081.html.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม. "พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย." สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. January 01, 1970. Accessed April 10, 2017. http://culturalartcu.blogspot.com/2013/05/blog-post_9046.html.
  4. "สมเด็จพระเทพฯ” ทรงร่วมงานวันครบรอบ 97 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." สำนักข่าวเจ้าพระยา. March 26, 2014. Accessed April 10, 2017. http://www.chaoprayanews.com/2014/03/26/สมเด็จพระเทพฯ-ทรงร่วมง/.
  5. Chulauniversity. YouTube. March 25, 2017. Accessed April 11, 2017. https://www.youtube.com/watch?v=jrwRm67TMy4&t=17s.

แหล่งข้อมูลอื่น