ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหมดิลก (เอื้อน หาสธมฺโม)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Piyawat Sudkid (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Piyawat Sudkid (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 61: บรรทัด 61:
== '''<u>[[เอื้อน กลิ่นสาลี|คดีความ]]</u>''' ==
== '''<u>[[เอื้อน กลิ่นสาลี|คดีความ]]</u>''' ==


ศาลอาญาคดีทุจริตฯตัดสินคดีเงินทอนวัดสำนวนที่ 2 สั่งจำคุก 6 ปี อดีตพระพรหมดิลก เจ้าอาวาสวัดสามพระยาและอดีตกรรมการ มส. และจำคุกอดีตเลขานุการวัด 3 ปี โดยศาลเห็นว่าวัดไม่มีโรงเรียนปริยัติธรรมแต่รับเงินสนับสนุน 5 ล้านบาท จำเลยทั้งสองนำไปใช้บูรณะก่อสร้างอาคารแทนทั้งที่ก่อนหน้านี้ได้รับเงินบูรณะไปแล้ว จากนั้นหมกเม็ดเอาฝากธนาคารกินดอกเบี้ย อันความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงาน และร่วมกันฟอกเงิน อีกทั้งเป็นเจ้าหน้าที่รัฐต้องรับโทษเป็น 2 เท่า<br />
ศาลอาญาคดีทุจริตฯตัดสินคดีเงินทอนวัดสำนวนที่ 2 สั่งจำคุก 6 ปี อดีตพระพรหมดิลก เจ้าอาวาสวัดสามพระยาและอดีตกรรมการ มส. และจำคุกอดีตเลขานุการวัด 3 ปี โดยศาลเห็นว่าวัดไม่มีโรงเรียนปริยัติธรรมแต่รับเงินสนับสนุน 5 ล้านบาท จำเลยทั้งสองนำไปใช้บูรณะก่อสร้างอาคารแทนทั้งที่ก่อนหน้านี้ได้รับเงินบูรณะไปแล้ว จากนั้นหมกเม็ดเอาฝากธนาคารกินดอกเบี้ย อันความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงาน และร่วมกันฟอกเงิน อีกทั้งเป็นเจ้าหน้าที่รัฐต้องรับโทษเป็น 2 เท่า

ศาลตัดสินคดีพระชั้นผู้ใหญ่ทุจริตเงินทอนวัดเป็นสำนวนที่ 2 เปิดเผยขึ้นที่ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ถนนนครไชยศรี กทม. เมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 16 พ.ค. ที่ห้องพิจารณาคดี 7 ศาลนัดฟังคำพิพากษาคดีทุจริตเงินทอนวัด คดีที่พนักงานอัยการสำนักงานปราบปรามการทุจริต 1 เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายเอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีตพระพรหมดิลก (เอื้อน หาสธมฺโม) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม (มส.) และอดีตเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร และนายสมทรง อรรถกฤษณ์ หรืออดีตพระอรรถกิจโสภณ อดีตเลขานุการเจ้าคณะกรุงเทพฯ วัดสามพระยา ร่วมกันเป็นจำเลยที่ 1-2 ในความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ หรือโดยทุจริตเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ความผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงาน และร่วมกันฟอกเงิน อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

สืบเนื่องจากเมื่อปลายปี 56-57 จำเลยร่วมกันทุจริตคดีเงินทอนวัดในส่วนการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ได้ควบคุมตัวจำเลยทั้งสองมาจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ ทั้งคู่อยู่ในชุดนุ่งขาวห่มขาวโดยมีญาติสนิท ผู้ที่ยังเคารพศรัทธา และพระวัดสามพระยาประมาณ 10 รูป เข้าร่วมฟังคำพิพากษา

ศาลพิเคราะห์ว่า จากกรณีสำนักพระพุทธศาสนาอนุมัติเงินเบิกจ่ายให้แก่วัด 9 วัด จำนวน 72 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ วัดสามพระยาได้รับเงินจำนวน 5 ล้านบาท ในการสนับสนุนโรงเรียนพระปริยัติธรรมเป็นลำดับที่ 6 ทั้งที่วัดสามพระยาไม่มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม จำเลยทั้งสองนำเงินดังกล่าวไปใช้ก่อสร้างอาคารร่มธรรมและบูรณะอาคารพักสงฆ์ อันผิดวัตถุประสงค์ในการมอบเงินของสำนักพระพุทธศาสนา ซึ่งจำเลยควรนำเงินดังกล่าวคืนสำนักพระพุทธศาสนาแต่กลับนำไปก่อสร้างอาคาร ทั้งที่ก่อนหน้านี้ในปี 56 สำนักพระพุทธศาสนาเคยมอบเงินเพื่อเป็นการบูรณะอาคารร่มธรรมและอาคารพักสงฆ์ให้แก่วัดสามพระยา แต่จำเลยทั้งสองนำเงินไปฝากเพื่อรับดอกเบี้ยจากธนาคาร และนำเงินที่ได้รับการสนับสนุนโรงเรียนพระปริยัติธรรมไปเป็นเงินในการบูรณะก่อสร้างอาคารแทน โดยถอนออกจากบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่อยตลาดบางกรวย 2 ครั้ง

ทั้งนี้ จำเลยทั้งสองมีพฤติกรรม โอน เปลี่ยนสภาพทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด หรือซุกซ่อน หรือปกปิดแหล่งที่มาของทรัพย์สิน และการกระทำด้วยประการใดๆ เพื่อปกปิด หรืออำพรางลักษณะที่แท้จริงอันเป็นการฟอกเงิน

ศาลพิพากษาว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดตาม พ.ร.บ.ฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 5 (1) (2) และมาตรา 60 ประกอบประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83 จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานกระทำความผิดฐาน

ฟอกเงิน ต้องรับโทษเป็น 2 เท่า การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นความผิดหลายกรรมให้เรียงกระทงลงโทษ ลงโทษความผิดฐานฟอกเงินจำคุกจำเลยที่ 1 รวม 2 กระทง ลงโทษกระทงละ 3 ปี รวมจำคุกเป็นเวลา 6 ปี และจำคุกจำเลยที่ 2 รวม 2 กระทง กระทงละ 1 ปี 6 เดือน รวมจำคุก 3 ปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:01, 29 เมษายน 2563

ดร.เอื้อน กลิ่นสาลี(อดีตพระพรหมดิลก)
ไฟล์:พระพรหมดิลก.jpg
เกิด13 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 (78 ปี)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย
สัญชาติไทย
มีชื่อเสียงจากพระพรหมดิลก อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม, อดีตเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร, อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา, อดีตที่ปรึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง

ดร.เอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีต พระพรหมดิลก ฉายา หาสธมฺโม ป.ธ. 9 เป็นอดีตพระราชาคณะเจ้าคณะรอง เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดสามพระยา กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร เจ้าคณะภาค14 รองเจ้าคณะภาค1 ที่ปรึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง

ประวัติ

ดร.เอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีต"พระพรหมดิลก" เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ณ บ้านเลขที่ 116 หมู่ที่ 6 ตำบลนครหลวง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ดร.เอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีต "พระพรหมดิลก" ได้อุปสมบทเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 ณ วัดมหาพล ตำบลนครหลวง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเจ้าอธิการพัฒน์ ติสฺสสุวณฺโณ วัดปรีดาราม ตำบลแม่ลา อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการคต โฆสิโต วัดมหาพล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูอุดมนครกิจ (วาส สุนฺทโร) วัดตะโหนด เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และลาสิกขาเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2561 โดยมีพระจากวัดเสมียนนารีมาทำพิธี เนื่องจากถูกกล่าวหาว่า กระทำการทุจริตและถูกดำเนินคดีอาญา ในความผิดฐานสนับสนุนเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์และปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือ โดยทุจริต พร้อมกับพระอีกหลายรูปจากวัดสามพระยา และวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วิทยฐานะ

  • พ.ศ. 2523 สอบไล่ได้เปรียญธรรม 9 ประโยค
  • พ.ศ. 2526 ปริญญาโท (สาขาบาลีและการศึกษาทางพระพุทธศาสนา) ณ มหาวิทยาลัยพาราณสี ประเทศอินเดีย
  • พ.ศ. 2529 ปริญญาเอก (สาขาบาลีและการศึกษาทางพระพุทธศาสนา) ณ มหาวิทยาลัยพาราณสี ประเทศอินเดีย

งานปกครอง

สมณศักดิ์

ดร.เอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีต "พระพรหมดิลก" ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ตามลำดับดังนี้


คดีความ

ศาลอาญาคดีทุจริตฯตัดสินคดีเงินทอนวัดสำนวนที่ 2 สั่งจำคุก 6 ปี อดีตพระพรหมดิลก เจ้าอาวาสวัดสามพระยาและอดีตกรรมการ มส. และจำคุกอดีตเลขานุการวัด 3 ปี โดยศาลเห็นว่าวัดไม่มีโรงเรียนปริยัติธรรมแต่รับเงินสนับสนุน 5 ล้านบาท จำเลยทั้งสองนำไปใช้บูรณะก่อสร้างอาคารแทนทั้งที่ก่อนหน้านี้ได้รับเงินบูรณะไปแล้ว จากนั้นหมกเม็ดเอาฝากธนาคารกินดอกเบี้ย อันความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงาน และร่วมกันฟอกเงิน อีกทั้งเป็นเจ้าหน้าที่รัฐต้องรับโทษเป็น 2 เท่า

ศาลตัดสินคดีพระชั้นผู้ใหญ่ทุจริตเงินทอนวัดเป็นสำนวนที่ 2 เปิดเผยขึ้นที่ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ถนนนครไชยศรี กทม. เมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 16 พ.ค. ที่ห้องพิจารณาคดี 7 ศาลนัดฟังคำพิพากษาคดีทุจริตเงินทอนวัด คดีที่พนักงานอัยการสำนักงานปราบปรามการทุจริต 1 เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายเอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีตพระพรหมดิลก (เอื้อน หาสธมฺโม) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม (มส.) และอดีตเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร และนายสมทรง อรรถกฤษณ์ หรืออดีตพระอรรถกิจโสภณ อดีตเลขานุการเจ้าคณะกรุงเทพฯ วัดสามพระยา ร่วมกันเป็นจำเลยที่ 1-2 ในความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ หรือโดยทุจริตเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ความผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงาน และร่วมกันฟอกเงิน อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

สืบเนื่องจากเมื่อปลายปี 56-57 จำเลยร่วมกันทุจริตคดีเงินทอนวัดในส่วนการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ได้ควบคุมตัวจำเลยทั้งสองมาจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ ทั้งคู่อยู่ในชุดนุ่งขาวห่มขาวโดยมีญาติสนิท ผู้ที่ยังเคารพศรัทธา และพระวัดสามพระยาประมาณ 10 รูป เข้าร่วมฟังคำพิพากษา

ศาลพิเคราะห์ว่า จากกรณีสำนักพระพุทธศาสนาอนุมัติเงินเบิกจ่ายให้แก่วัด 9 วัด จำนวน 72 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ วัดสามพระยาได้รับเงินจำนวน 5 ล้านบาท ในการสนับสนุนโรงเรียนพระปริยัติธรรมเป็นลำดับที่ 6 ทั้งที่วัดสามพระยาไม่มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม จำเลยทั้งสองนำเงินดังกล่าวไปใช้ก่อสร้างอาคารร่มธรรมและบูรณะอาคารพักสงฆ์ อันผิดวัตถุประสงค์ในการมอบเงินของสำนักพระพุทธศาสนา ซึ่งจำเลยควรนำเงินดังกล่าวคืนสำนักพระพุทธศาสนาแต่กลับนำไปก่อสร้างอาคาร ทั้งที่ก่อนหน้านี้ในปี 56 สำนักพระพุทธศาสนาเคยมอบเงินเพื่อเป็นการบูรณะอาคารร่มธรรมและอาคารพักสงฆ์ให้แก่วัดสามพระยา แต่จำเลยทั้งสองนำเงินไปฝากเพื่อรับดอกเบี้ยจากธนาคาร และนำเงินที่ได้รับการสนับสนุนโรงเรียนพระปริยัติธรรมไปเป็นเงินในการบูรณะก่อสร้างอาคารแทน โดยถอนออกจากบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่อยตลาดบางกรวย 2 ครั้ง

ทั้งนี้ จำเลยทั้งสองมีพฤติกรรม โอน เปลี่ยนสภาพทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด หรือซุกซ่อน หรือปกปิดแหล่งที่มาของทรัพย์สิน และการกระทำด้วยประการใดๆ เพื่อปกปิด หรืออำพรางลักษณะที่แท้จริงอันเป็นการฟอกเงิน

ศาลพิพากษาว่าจำเลยที่ 1 มีความผิดตาม พ.ร.บ.ฟอกเงิน พ.ศ.2542 มาตรา 5 (1) (2) และมาตรา 60 ประกอบประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83 จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานกระทำความผิดฐาน

ฟอกเงิน ต้องรับโทษเป็น 2 เท่า การกระทำของจำเลยทั้งสองเป็นความผิดหลายกรรมให้เรียงกระทงลงโทษ ลงโทษความผิดฐานฟอกเงินจำคุกจำเลยที่ 1 รวม 2 กระทง ลงโทษกระทงละ 3 ปี รวมจำคุกเป็นเวลา 6 ปี และจำคุกจำเลยที่ 2 รวม 2 กระทง กระทงละ 1 ปี 6 เดือน รวมจำคุก 3 ปี

อ้างอิง

  1. สมเด็จพระสังฆราช’ทรงมีพระบัญชา ปลด 3 พระผู้ใหญ่โยงคดีเงินทอนวัด
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม ๑๐๔, ตอนที่ ๒๕๓ ง ฉบับพิเศษ, ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐, หน้า ๑๒
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม ๑๑๑, ตอนพิเศษ ๕๗ ง, ๗ ธันวาคม ๒๕๓๗, หน้า ๗
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม ๑๑๖, ตอน ๒๓ ข, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๒, หน้า ๓
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, ตอนที่ 17 ข, เล่ม 121, 15 กันยายน 2547, หน้า 3
  6. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, ตอนที่ 9 ข, เล่ม 128, 1 มิถุนายน พ.ศ. 2554, หน้า 13
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่อง ถอดถอนสมณศักดิ์, ตอนที่ 15 ข, เล่ม 135, 30 พฤษภาคม 2561, หน้า 1


ก่อนหน้า พระพรหมดิลก (เอื้อน หาสธมฺโม) ถัดไป
พระธรรมสิทธินายก
(เฉลิม พนฺธุรํสี)
เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร
(พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)
พระธรรมสุธี
(นรินทร์ นรินโท)

(รักษาการ)
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(ปัญญา อินฺทปญฺโญ)
เจ้าคณะภาค 14
(พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2556)
พระธรรมโพธิมงคล
(สมควร ปิยสีโล)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ฟื้น ชุตินฺธโร)
เจ้าอาวาสวัดสามพระยา
(พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2561)
ว่าง