ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐมะละกา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| translit_lang1_type1 = [[ภาษามลายู|มลายู]]
| translit_lang1_type1 = [[ภาษามลายู|มลายู]]
| translit_lang1_info1 = {{lang|ms|Melaka}} {{small|([[อักษรรูมี|รูมี]])}}<br>{{script/Arabic|ملاك}} {{small|([[อักษรยาวี|ยาวี]])}}
| translit_lang1_info1 = {{lang|ms|Melaka}} {{small|([[อักษรรูมี|รูมี]])}}<br>{{script/Arabic|ملاك}} {{small|([[อักษรยาวี|ยาวี]])}}
| translit_lang1_type2 = จีน
| translit_lang1_info2 = {{lang|zh-hans|马六甲}} {{font|size=70%|([[อักษรจีนตัวย่อ|ตัวย่อ]])}}<br />{{Lang|zh-hant|馬六甲}} {{font|size=70%|([[อักษรจีนตัวเต็ม|ตัวเต็ม]])}}
| translit_lang1_info3 = மலாக்கா
| translit_lang1_type3 = [[ภาษาทมิฬ|ทมิฬ]]
| image_flag = Flag of Malacca.svg
| image_flag = Flag of Malacca.svg
| flag_size =
| flag_size =
บรรทัด 73: บรรทัด 77:


== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==
เมื่อราว [[พ.ศ. 1800]] เจ้าชายปรเมศวรได้ทรงอพยพออกจาก[[ปาเล็มบัง]] เหตุเนื่องด้วยการรุกรานจาก[[อาณาจักรมัชปาหิต]] ซึ่งก่อนที่จะมาถึงมะละกานั้น เจ้าชายปรเมศวรได้เข้าไปตั้งเมืองอยู่ที่ตูมาซิก (Tumasik) หรือเตมาเซ็ก หรือ[[สิงคโปร์]]ในปัจจุบัน แต่เนื่องด้วยในตอนนั้นตูมาซิกตกอยู่ใต้อำนาจของสยาม ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งกับสยามและเจ้าชายองค์นี้จึงต้องออกเดินทางออกมา จนมาถึงที่มะละกา มาสร้างเมืองใหม่ที่นี่และกลายเป็นจักรวรรดิการค้าที่ยิ่งใหญ่ในอีก 200 ปีต่อมา และเป็นแหล่งแรกที่[[ศาสนาอิสลาม]]เข้าสู่มาเลเซียผ่านทางพ่อค้ามุสลิมอินเดียที่มาจาก[[ปาไซ]] และเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบสุลต่าน
เมื่อราว พ.ศ. 1800 เจ้าชายปรเมศวรได้ทรงอพยพออกจาก[[ปาเล็มบัง]] เหตุเนื่องด้วยการรุกรานจาก[[อาณาจักรมัชปาหิต]] ซึ่งก่อนที่จะมาถึงมะละกานั้น เจ้าชายปรเมศวรได้เข้าไปตั้งเมืองอยู่ที่ตูมาซิก (Tumasik) หรือเตมาเซ็ก หรือ[[สิงคโปร์]]ในปัจจุบัน แต่เนื่องด้วยในตอนนั้นตูมาซิกตกอยู่ใต้อำนาจของสยาม ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งกับสยามและเจ้าชายองค์นี้จึงต้องออกเดินทางออกมา จนมาถึงที่มะละกา มาสร้างเมืองใหม่ที่นี่และกลายเป็นจักรวรรดิการค้าที่ยิ่งใหญ่ในอีก 200 ปีต่อมา และเป็นแหล่งแรกที่[[ศาสนาอิสลาม]]เข้าสู่มาเลเซียผ่านทางพ่อค้ามุสลิมอินเดียที่มาจาก[[ปาไซ]] และเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบสุลต่าน


ต่อมา [[พ.ศ. 2052]] [[โปรตุเกส]]เดินทางมาถึงมะละกาเพื่อขอตั้งสถานีการค้าแต่ถูกปฏิเสธ จนนำไปสู่สงครามระหว่างโปรตุเกส-มะละกา ซึ่งโปรตุเกสเป็นฝ่ายชนะเมื่อ [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2054]] มะละกาถูก[[เนเธอร์แลนด์]]ยึดครองเมื่อ [[พ.ศ. 2184]] หลังจากเนเธอร์แลนด์ขับไล่โปรตุเกสออกไป ต่อมามะละกากลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษตาม[[สนธิสัญญาอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ พ.ศ. 2367]]
ต่อมา พ.ศ. 2052 [[โปรตุเกส]]เดินทางมาถึงมะละกาเพื่อขอตั้งสถานีการค้าแต่ถูกปฏิเสธ จนนำไปสู่สงครามระหว่างโปรตุเกส-มะละกา ซึ่งโปรตุเกสเป็นฝ่ายชนะเมื่อ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2054 มะละกาถูก[[เนเธอร์แลนด์]]ยึดครองเมื่อ พ.ศ. 2184 หลังจากเนเธอร์แลนด์ขับไล่โปรตุเกสออกไป ต่อมามะละกากลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษตาม[[สนธิสัญญาอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ พ.ศ. 2367]]


ภายใต้การปกครองของ[[อังกฤษ]] มะละการวมกับ[[ปีนัง]]และ[[สิงคโปร์]]ในชื่อ[[นิคมช่องแคบ]]ซึ่งแยกต่างหากจาก[[สหพันธรัฐมลายู]] หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] มะละกาเข้ารวมอยู่ใน[[สหภาพมาลายา]] และกลายเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซียเมื่อมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ
ภายใต้การปกครองของ[[อังกฤษ]] มะละการวมกับ[[ปีนัง]]และ[[สิงคโปร์]]ในชื่อ[[นิคมช่องแคบ]]ซึ่งแยกต่างหากจาก[[สหพันธรัฐมลายู]] หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] มะละกาเข้ารวมอยู่ใน[[สหภาพมาลายา]] และกลายเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซียเมื่อมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:56, 22 เมษายน 2563

รัฐมะละกา

[Negeri Melaka] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)
การถอดเสียงต่าง ๆ
 • มลายูMelaka (รูมี)
ملاك(ยาวี)
 • จีน马六甲 (ตัวย่อ)
馬六甲 (ตัวเต็ม)
 • ทมิฬமலாக்கா
ธงของรัฐมะละกา
ธง
ตราราชการของรัฐมะละกา
ตราอาร์ม
สมญา: 
เวนิสตะวันออก[1]
คำขวัญ: 
[เบอร์ซาตูเตอกุฮ์] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)
("รวมเป็นหนึ่งอย่างเหนียวแน่น")
เพลง: เมอลากามาจูจายา
   รัฐมะละกา ใน    ประเทศมาเลเซีย
   รัฐมะละกา ใน    ประเทศมาเลเซีย
พิกัด: 2°12′N 102°15′E / 2.200°N 102.250°E / 2.200; 102.250พิกัดภูมิศาสตร์: 2°12′N 102°15′E / 2.200°N 102.250°E / 2.200; 102.250
เมืองหลวงมะละกา
การปกครอง
 • ประเภทระบบรัฐสภา
 • ผู้ว่าราชการรัฐโมฮัมมัด คาลิล ยักกบ
 • มุขมนตรีอัดลี ซาฮารี (PH-AMANAH)
พื้นที่[2]
 • ทั้งหมด1,664 ตร.กม. (642 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2015)[3]
 • ทั้งหมด872,900 คน
ดัชนีการพัฒนามนุษย์
 • เอชดีไอ (2010)0.804 (สูงมาก) (อันดับที่ 4)
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานมาเลเซีย)
รหัสไปรษณีย์75xxx ถึง 78xxx
รหัสโทรศัพท์06
ทะเบียนพาหนะM
รัฐสุลต่านมะละกาคริสต์ศตวรรษที่ 15
โปรตุเกสครอบครอง[4]24 สิงหาคม ค.ศ. 1511
เนเธอร์แลนด์ครอบครอง[5][6]14 มกราคม ค.ศ. 1641
สหราชอาณาจักรปกครอง[5][6][7][8]17 มีนาคม ค.ศ. 1824
ญี่ปุ่นยึดครอง[9][10]11 มกราคม ค.ศ. 1942
เข้าร่วมสหภาพมาลายา[11]1 เมษายน ค.ศ. 1946
เข้าร่วมสหพันธรัฐมาลายา[12]1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1948
รับเอกราชเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมาลายา[13]31 สิงหาคม ค.ศ. 1957
เว็บไซต์www.melaka.gov.my

มะละกา (มลายู: Melaka, ملاك) เป็นรัฐทางตอนใต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผู้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผู้ว่าราชการรัฐแทน

ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตกบนช่องแคบมะละกามากว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมโปรตุเกส ดัตช์ และมลายู ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกาจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)[14]

ประวัติศาสตร์

เมื่อราว พ.ศ. 1800 เจ้าชายปรเมศวรได้ทรงอพยพออกจากปาเล็มบัง เหตุเนื่องด้วยการรุกรานจากอาณาจักรมัชปาหิต ซึ่งก่อนที่จะมาถึงมะละกานั้น เจ้าชายปรเมศวรได้เข้าไปตั้งเมืองอยู่ที่ตูมาซิก (Tumasik) หรือเตมาเซ็ก หรือสิงคโปร์ในปัจจุบัน แต่เนื่องด้วยในตอนนั้นตูมาซิกตกอยู่ใต้อำนาจของสยาม ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งกับสยามและเจ้าชายองค์นี้จึงต้องออกเดินทางออกมา จนมาถึงที่มะละกา มาสร้างเมืองใหม่ที่นี่และกลายเป็นจักรวรรดิการค้าที่ยิ่งใหญ่ในอีก 200 ปีต่อมา และเป็นแหล่งแรกที่ศาสนาอิสลามเข้าสู่มาเลเซียผ่านทางพ่อค้ามุสลิมอินเดียที่มาจากปาไซ และเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบสุลต่าน

ต่อมา พ.ศ. 2052 โปรตุเกสเดินทางมาถึงมะละกาเพื่อขอตั้งสถานีการค้าแต่ถูกปฏิเสธ จนนำไปสู่สงครามระหว่างโปรตุเกส-มะละกา ซึ่งโปรตุเกสเป็นฝ่ายชนะเมื่อ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2054 มะละกาถูกเนเธอร์แลนด์ยึดครองเมื่อ พ.ศ. 2184 หลังจากเนเธอร์แลนด์ขับไล่โปรตุเกสออกไป ต่อมามะละกากลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษตามสนธิสัญญาอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ พ.ศ. 2367

ภายใต้การปกครองของอังกฤษ มะละการวมกับปีนังและสิงคโปร์ในชื่อนิคมช่องแคบซึ่งแยกต่างหากจากสหพันธรัฐมลายู หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มะละกาเข้ารวมอยู่ในสหภาพมาลายา และกลายเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซียเมื่อมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ

ประชากร

มะละกามีประวัติศาสตร์ที่เกื่ยวกับกลุ่มคนหลากหลายเชื้อชาติและศาสนา ทำให้ปัจจุบันมะละกาเป็นรัฐที่มีวัฒนธรรมผสมผสาน โดยมีประชากรประมาณ 759,000 คน (พ.ศ. 2550) ซึ่งประกอบด้วย

  • ชาวมลายูประมาณร้อยละ 57
  • ชาวจีนประมาณร้อยละ 32
  • ชาวอินเดีย
  • ชาวคริสตัง ซึ่งเป็นลูกหลานชาวโปรตุเกสในสมัยอาณานิคม
สถิติจำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ของรัฐมะละกาใน ค.ศ. 2010
ศาสนา อัตราส่วน
อิสลาม
  
66.1%
พุทธ
  
24.2%
ฮินดู
  
5.7%
คริสต์
  
3.0%
ศาสนาพื้นบ้านของจีน
  
0.2%
อื่น ๆ
  
0.6%
ไม่มีศาสนา
  
0.2%

จุดชมทิวทัศน์

อุทยานธรรมชาติ

  • แม่น้ำมะละกา
  • ภูเขาเลอดัง
  • Klebang Beach
  • หาด Pengkalan Balak
  • อุทยานมรดกโลก Jonker Walk

จุดที่น่าสนใจและสถานที่ท่องเที่ยว

  • Huskitory
  • แม่น้ำวอล์ก
  • หมู่บ้าน Morten
  • โบสถ์เซนต์ปอลฮิลล์
  • Jonker Street
  • Melaka Chinatown
  • จัตุรัสแดง (จัตุรัสเนเธอร์แลนด์)
  • สถานี Woof
  • Encore มะละกา
  • Skydeck Hatten เมืองมะละกา
  • หมู่บ้าน Chetti
  • แกลเลอรี่ Casababa
  • โบสถ์ Our Lady of Guadalupe
  • 8 Heeren Street Heritage Center
  • Stadthuys
  • Menara Taming Sari
  • พระราชวังของสุลต่านรัฐมะละกา
  • น้ำพุสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย
  • ไชนาฮิลล์
  • ฟาร์มผลไม้เขตร้อนของมะละกา

พิพิธภัณฑ์

  • พิพิธภัณฑ์มรดก Baba & Nyonya
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และชาติพันธุ์วิทยาในมะละกา
  • Perbadanan Muzium Malacca
  • ช่องแคบจีนพิพิธภัณฑ์เครื่องประดับมะละกา
  • Sentosa Villa
  • พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรม Cheng Ho
  • พิพิธภัณฑ์บ้านมะละกา
  • อิสรภาพฮอลล์
  • พิพิธภัณฑ์เรือดำน้ำ
  • พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมมาเลเซีย
  • พิพิธภัณฑ์ศุลกากรรอยัลมาเลเซีย
  • Illusion 3D Art Gallery
  • พิพิธภัณฑ์ผู้ว่าการรัฐ
  • พิพิธภัณฑ์เรือนจำมาเลเซีย
  • พิพิธภัณฑ์รัฐบาลประชาธิปไตย
  • Muzium Kecantikan
  • พิพิธภัณฑ์สวนสนุก
  • พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมจิก

สถานที่ทางศาสนา

  • มัสยิดช่องแคบมะละกา
  • วัด Cheng Hoon Teng
  • โบสถ์เซนต์ปีเตอร์
  • โบสถ์คริสเตียน
  • มัสยิดกัมปุงกลิง
  • โบสถ์เซนต์ฟรานซิสเซเวียร์
  • ศรีลังกาวัด Sri Poyyatha Vinayagar Moorthy
  • มัสยิดกัมปุงฮูลู
  • วัด Xiang Lin Si
  • มัสยิดจีนในมะละกา

อ้างอิง

  1. "Melaka River - Malacca City Attractions". Malacca.ws. สืบค้นเมื่อ 2012-10-29.
  2. "Laporan Kiraan Permulaan 2010". Jabatan Perangkaan Malaysia. p. 27. สืบค้นเมื่อ 24 January 2011.
  3. "Population by States and Ethnic Group". Department of Information, Ministry of Communications and Multimedia, Malaysia. 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 February 2016. สืบค้นเมื่อ 12 February 2015.
  4. Headrick (2010), pp. 63
  5. 5.0 5.1 "Melaka Jatuh Ke Tangan Belanda -". hids.arkib.gov.my.
  6. 6.0 6.1 Mat Rofa Ismail (2015). Kerdipan Bintang Melayu Dilangit Turki. Alaf 21. ISBN 9789678604864 – โดยทาง Google Books.
  7. Wong, John; Zou, Keyuan; Zeng, Huaqun, บ.ก. (2006). China-ASEAN Relations: Economic and Legal Dimensions. Singapore: World Scientific. ISBN 9789814478618.
  8. "Signing of the Anglo-Dutch Treaty (Treaty of London) of 1824 - Singapore History". eresources.nlb.gov.sg.
  9. Singapore, National Library Board. "Malayan Campaign - Infopedia". eresources.nlb.gov.sg.
  10. "Info" (PDF). studentsrepo.um.edu.my.
  11. "Penubuhan Malayan Union -". hids.arkib.gov.my.
  12. "Federation of Malaya is inaugurated - Singapore History". eresources.nlb.gov.sg.
  13. "Official Portal of Malaysia National Archives". Arkib.gov.my. สืบค้นเมื่อ 2018-08-18.
  14. https://www.star2.com/culture/2018/07/05/making-melaka-liveable/
  • มาเลเซีย แปลโดย จงจิต อรรถยุกติ. หน้าต่างสู่โลกกว้าง. 2547