ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นเวลาของอนาคตอันใกล้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54: บรรทัด 54:
*2076: ดาวเคราะห์แคระ [[90377 เซดนา]] จะอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
*2076: ดาวเคราะห์แคระ [[90377 เซดนา]] จะอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
*2077: เริ่มศตวรรษที่ 16 ใน[[ปฏิทินอิสลาม]]
*2077: เริ่มศตวรรษที่ 16 ใน[[ปฏิทินอิสลาม]]

== ดูเพิ่ม ==
* [[เส้นเวลาประวัติศาสตร์โลก]]
* [[คริสต์ศตวรรษที่ 21 ในบันเทิงคดี]]
* [[เส้นเวลาของอนาคต]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:เส้นเวลาอนาคต]]
[[หมวดหมู่:ช่วงเวลาในอนาคต]]


== ศตวรรษที่ 22 ==
== ศตวรรษที่ 22 ==
บรรทัด 93: บรรทัด 82:
{{for|เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากนี้|คริสต์สหัสวรรษที่ 3|รายชื่อคริสต์สหัสวรรษ|เส้นเวลาของอนาคตไกล}}
{{for|เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากนี้|คริสต์สหัสวรรษที่ 3|รายชื่อคริสต์สหัสวรรษ|เส้นเวลาของอนาคตไกล}}


== ดูเพิ่ม ==
[[หมวดหมู่:เส้นเวลา]]
* [[เส้นเวลาประวัติศาสตร์โลก]]
* [[คริสต์ศตวรรษที่ 21 ในบันเทิงคดี]]
* [[เส้นเวลาของอนาคต]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:เส้นเวลาอนาคต]]
[[หมวดหมู่:เส้นเวลาอนาคต]]
[[หมวดหมู่:ช่วงเวลาในอนาคต]]
{{โครง}}
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:27, 16 เมษายน 2563

เส้นเวลาของอนาคตอันใกล้ นี้เป็นการคาดเดาหรือคำนวณไว้จากปัจจุบันจนถึงสิ้นคริสต์ศตวรรษที่ 23

คริสต์ศตวรรษที่ 21

คริสต์ทศวรรษ 2020

คริสต์ทศวรรษ 2030

คริสต์ทศวรรษ 2060

  • 2061: ดาวหางฮัลเลย์จะโคจรเข้าสู่ระบบสุริยะชั้นใน ซี่งจะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดในวันที่ 28 กรกฎาคม ในปีนี้
  • 2069: ครบรอบ 100 ปียานอะพอลโล 11

คริสต์ทศวรรษ 2070

  • 2076: ดาวเคราะห์แคระ 90377 เซดนา จะอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
  • 2077: เริ่มศตวรรษที่ 16 ในปฏิทินอิสลาม

ศตวรรษที่ 22

2100

  • 2100: ในวันอาทิตย์ที่ 14 มีนาคม (หรือเป็นวันที่ 29 กุมภาพันธ์ในปฏิทินจูเลียน) ปฏิทินจูเลียนและปฏิทินเกรกอเรียนจะมีระยะห่างกันเพียงแค่ 14 วัน
  • 2103: เสื้อแจ็กเก็ตของแจ็กเกอลีน เคนเนดีที่ฉีกขาดจะไม่ถูกเปิดเผยจนกระทั่งถึงปีนี้

2110

  • 2113: ดาวพลูโตจะโคจรถึงตำแหน่งที่ไกลจากดวงอาทิตย์ที่สุดนับตั้งแต่วันที่มันค้นพบ
  • 2114: เซดนาจะกลายเป็นวัตถุอวกาศที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ไกลที่สุด

2130

  • 2134: ดาวหางฮัลเลย์จะโคจรกลับเข้ามาที่ระบบสุริยะชั้นใน

2170

  • 2177: ดาวพลูโตจะโคจรกลับมาที่เดิม ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มันถูกค้นพบใน ค.ศ. 1930

2180

  • 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2186: จะเกิดสุริยุปราคา ซึ่งยาวนานถึง 7 นาที 29 วินาที (ใกล้เคียงกับระยะเวลามากที่สุดตามทฤษฎี) คาดว่าจะเป็นสุริยุปราคาที่ยาวนานที่สุดในรอบ 10,000 ปี

ศตวรรษที่ 23

2200

2240

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Hale, Frank. "Periodical Cicadas". ag.tennessee.edu. สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. "Tel Aviv light rail Red Line won't open next year". en.globes.co.il (ภาษาฮิบรู). 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.
  3. "NASA sets March 2021 Launch Date for James Webb Space Telescope". Sky & Telescope. 27 June 2018.
  4. Jones, Andrew. "This Is China's New Spacecraft to Take Astronauts to the Moon (Photos)". Space.com (ภาษาอังกฤษ).
  5. "Beijing to host 2022 Winter Olympics and Paralympics". BBC Sport (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2015-07-31. สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.
  6. Amos, Jonathan (2012-05-02). "ESA selects 1bn-euro Juice probe to Jupiter". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. "Amir: 2022 World Cup Qatar a tournament for all Arabs". Gulf-Times (ภาษาอาหรับ). 2018-07-15. สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.
  8. "2022 timeline contents". FutureTimeline.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  9. "Better roads, rail travel and new river crossings in spending boost for London". London Evening Standard. 10 April 2012. สืบค้นเมื่อ 12 November 2015.
  10. Doctorow, Cory (2016-01-19). "We'll Probably Never Free Mickey, But That's Beside the Point". Electronic Frontier Foundation (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-07-19.
  11. https://www.cnbc.com/2018/09/18/spacex-japan-billionaire-yusaku-maezawa-first-tourist-to-fly-to-moon.html
  12. "Denmark-Germany undersea Fehmarn tunnel gets go-ahead". BBC News. 25 July 2015. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  13. Taylor, Harriet (2016-06-02). "Musk: We intend to launch people to Mars in 2024, arrival in 2025". CNBC. สืบค้นเมื่อ 2016-06-04.
  14. "Magellan super-scope gets green light for construction". BBC News. 3 June 2015. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  15. "Square-kilometre radio telescope wins millions in UK funding". Theregister.co.uk. 13 March 2014. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  16. "Así será la Sagrada Família en 2026". ABC [digital version]. 26 September 2013.