ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| image = Abbhantripaja.jpg
| สี = orange
| title = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5<br>พระองค์เจ้าชั้นเอก
| ภาพ = ไฟล์:Abbhantripaja.jpg
| birth_date = {{วันเกิด|2432|10|31}}
| คำบรรยายภาพ =
| death_date = {{วันตายและอายุ|2478|2|18|2432|10|31}}
| พระนาม = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภันตรีปชา
| death_style = สิ้นพระชนม์
| พระนามเต็ม =
| father1 = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| ฐานันดร = พระองค์เจ้าชั้นเอก
| mother1 = [[เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5]]
| วันประสูติ = [[31 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2432]]
| dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| วันสิ้นพระชนม์ = [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2477]]
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5
| พระราชบิดา =
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระราชมารดา =
| พระมารดา = [[เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5]]
| มารดา =
| พระชายา =
| ชายา =
| หม่อม =
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
}}


'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา''' <ref>ในหนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงพระศพ ระบุพระนาม ''พระองค์เจ้าอภันตรีปชา'' [http://www.digitalrarebook.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&cid=10430&pid=81914]</ref> ([[31 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2432]] - [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2477]]) ชาววังออกพระนามว่า '''เสด็จพระองค์หญิงขาว''' เป็นพระเจ้าลูกเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5]] และ[[เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมมารดาแส]] ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก จ.ศ. 1251 ตรงกับวันที่ [[31 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2432]]
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา'''<ref>ในหนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงพระศพ ระบุพระนาม ''พระองค์เจ้าอภันตรีปชา'' [http://www.digitalrarebook.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&cid=10430&pid=81914]</ref> (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478) ชาววังออกพระนามว่า '''เสด็จพระองค์หญิงขาว''' เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่[[เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมมารดาแส]] เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก จ.ศ. 1251 ตรงกับวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2432
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา มีพระเชษฐาและพระกนิษฐภคินี ร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันตามลำดับ ได้แก่
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา มีพระโสทรเชษฐาและพระโสทรขนิษฐา 2 พระองค์ คือ
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ]] (ประสูติวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2431 สิ้นพระชนม์วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2431 พระชนมายุ ได้ 3 เดือน)
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ]] (23 กรกฎาคม พ.ศ. 2431 7 ตุลาคม พ.ศ. 2431)
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา]] (ประสูติวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 สิ้นพระชนม์วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 พระชนมายุได้ 45 ชันษา)
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ]] (17 มกราคม พ.ศ. 2434 4 มิถุนายน พ.ศ. 2475)
* [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ]] (ประสูติวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2434 สิ้นพระชนม์ วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พระชนมายุได้ 42 ชันษา)


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา เป็นพระราชธิดาพระองค์หนึ่ง ซึ่งทรงเป็นที่สนิทสิเนหาและได้รับพระเมตตากรุณาจากสมเด็จพระบรมชนกนาถพระปิยมหาราชเป็นอันมาก เมื่อมีพระชนมายุครบกำหนดโสกันต์ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพิธีโสกันต์ตามพระราชประเพณี และให้ทรงศึกษาวิชาหนังสือไทยบ้าง ฝรั่งบ้าง ประกอบทั้งการฝีมือเย็บปักถักร้อย ด้วยเหตุนี้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา จึงได้ทรงเป็นนักศึกษา มีวิชาความรู้ทันสมัย มีพระจริยามารยาทงดงาม พระทัยโอบอ้อมอารี และได้ทรงประกอบความดีไว้หลายประการ เป็นต้นว่า
พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา เป็นพระราชธิดาซึ่งเป็นที่สนิทสิเนหาและได้รับพระเมตตากรุณาจากสมเด็จพระบรมชนกนาถพระปิยมหาราชเป็นอันมาก เมื่อมีพระชันษาครบกำหนดโสกันต์ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพิธีโสกันต์ตามพระราชประเพณี และให้ทรงศึกษาวิชาหนังสือไทยบ้าง ฝรั่งบ้าง ประกอบทั้งการฝีมือเย็บปักถักร้อย ด้วยเหตุนี้พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาจึงได้เป็นนักศึกษา มีวิชาความรู้ทันสมัย มีพระจริยามารยาทงดงาม พระทัยโอบอ้อมอารี และได้ทรงประกอบความดีไว้หลายประการ เป็นต้นว่า
* ในพระพุทธศาสนา ทรงบำเพ็ญพระกุศลเป็นเนืองนิจได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดมัชฌันติการาม อำเภอ บางซื่อ จังหวัดพระนครซึ่งเจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอกในรัชกาลที่ 4 ได้สร้างไว้ และเป็นวัดของสกุลโรจนดิศ และถวายจตุปัจจัยแก่วัดนั้นเกือบทุกปี ได้ทรงบวชกุลบุตรที่มีศรัทธาจะบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาเมื่อทรงสงเคราะห์ให้ได้บวชแล้ว ก็ถวายนิจภัตต์ ประจำเดือนด้วยใครมาเรี่ยไรทำการอันใดเกี่ยวกับการศาสนาก็มักไม่ได้กลับไปมือเปล่าคงทรงร่วมการกุศลด้วยเสมอ
* ในพระพุทธศาสนา ทรงบำเพ็ญพระกุศลเป็นเนืองนิจได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดมัชฌันติการาม อำเภอ บางซื่อ จังหวัดพระนครซึ่ง[[เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4]] ได้สร้างไว้ และเป็นวัดของสกุลโรจนดิศ และถวายจตุปัจจัยแก่วัดนั้นเกือบทุกปี ได้ทรงบวชกุลบุตรที่มีศรัทธาจะบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาเมื่อทรงสงเคราะห์ให้ได้บวชแล้ว ก็ถวายนิจภัตต์ ประจำเดือนด้วยใครมาเรี่ยไรทำการอันใดเกี่ยวกับการศาสนาก็มักไม่ได้กลับไปมือเปล่าคงทรงร่วมการกุศลด้วยเสมอ
* ในทางพยาบาล ก็ได้ทรงออกเงินช่วยเหลือเนือง ๆ เมื่อเจ้าจอมมารดาแสของพระองค์ท่านถึงอสัญกรรมแล้ว ก็ได้ทรงอุทิศเงินตั้งเป็นทุนไว้ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พร้อมด้วยพระกนิษฐภคินี เรียกว่า “ทุนพระธิดาเจ้าจอมมารดาแส” และทรงเพิ่มเติมทุนนั้นเกือบทุกปี
* ในทางพยาบาล ก็ได้ทรงออกเงินช่วยเหลือเนือง ๆ เมื่อเจ้าจอมมารดาแสของพระองค์ท่านถึงอสัญกรรมแล้ว ก็ได้ทรงอุทิศเงินตั้งเป็นทุนไว้ใน[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] พร้อมด้วยพระขนิษฐา เรียกว่า “ทุนพระธิดาเจ้าจอมมารดาแส” และทรงเพิ่มเติมทุนนั้นเกือบทุกปี
* ในทางการศึกษา ทรงอุตส่าห์เก็บเงินตั้งโรงเรียนขึ้นในที่ส่วนของพระองค์ ทรงยกตึก 2 ชั้น ที่เคยประทับอยู่นั้นให้เป็นโรงเรียน ภายหลังเสด็จออกไปจากสวนสุนันทา ซึ่งแต่ก่อนเคยไปประทับที่ตึกนั้นก็ไม่ได้ประทับ สู้อุตส่าห์ไปประทับในเรือนเล็กๆ มอบตึกใหญ่ให้เป็นโรงเรียน นับว่าเป็นการเสียสละอันยากที่ผู้อื่นจะทำได้ โรงเรียนนี้เมื่อตั้งมาหลายปีก็เจริญยิ่งขึ้นโดยลำดับ ในที่สุดเมื่อ 6-7 ปี มาแล้วนี้ เสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งนั้นเห็นว่าจะเป็นโรงเรียนที่ถาวรมั่นคงต่อไป เพราะมีนักเรียนถึง 400 เศษ และตั้งอยู่ในย่านตำบลที่ไม่มีโรงเรียนสตรี จึงได้ประทานนามว่าโรงเรียน “ขัตยาณีผะดุง” ภายหลังได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียน “อภันตรีผะดุง” ในพระนามของพระองค์โดยตรง เพราะได้ทรงออกทุนรอนตั้งขึ้น และทรงทำนุบำรุงมาช้านาน ในเวลานี้หรือต่อไปไม่ช้า ก็พอจะเก็บเงินเลี้ยงตัวได้
* ในทางการศึกษา ทรงเก็บเงินตั้งโรงเรียนขึ้นในที่ส่วนพระองค์ ทรงยกตึก 2 ชั้น ที่เคยประทับอยู่นั้นให้เป็นโรงเรียน ภายหลังเสด็จออกไปจากสวนสุนันทา ซึ่งแต่ก่อนเคยไปประทับที่ตึกนั้นก็ไม่ได้ประทับ ไปประทับในเรือนเล็ก ๆ มอบตึกใหญ่ให้เป็นโรงเรียน โรงเรียนนี้เมื่อตั้งมาหลายปีก็เจริญยิ่งขึ้นโดยลำดับ เสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งนั้นเห็นว่าจะเป็นโรงเรียนที่ถาวรมั่นคงต่อไป เพราะมีนักเรียนถึง 400 เศษ และตั้งอยู่ในย่านตำบลที่ไม่มีโรงเรียนสตรี จึงได้ประทานนามว่าโรงเรียน “ขัตยาณีผะดุง” ภายหลังได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียน “อภันตรีผะดุง” ในพระนามของพระองค์ เพราะได้ทรงออกทุนรอนตั้งขึ้น และทรงทำนุบำรุงมาช้านาน
* ในทางช่วยเหลือประเทศในยามคับขัน ก็ได้ทรงกระทำโดยการซื้อใบกู้ของรัฐบาลสยามด้วยพระองค์เอง และทรงแนะนำชักชวนให้ผู้อื่นซื้อใบกู้อีกเป็นจำนวนไม่น้อย
* ในทางช่วยเหลือประเทศในยามคับขัน ก็ได้ทรงกระทำโดยการซื้อใบกู้ของรัฐบาลสยามด้วยพระองค์เอง และทรงแนะนำชักชวนให้ผู้อื่นซื้อใบกู้อีกเป็นจำนวนไม่น้อย


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา ได้ประชวรพระโรคไตประมาณ 25 ปี มีพระอาการมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา ครั้นถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2477 ก็เริ่มมีพระอาการมากขึ้น ในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกันมีพระอาการประชวรไข้หวัดใหญ่และการอักเสบที่พระทนต์และพระศอเข้าผสม พระอาการทางไตก็กำเริบขึ้นโดยลำดับ จนเป็นเหตุสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 4 ขึ้น 5 ค่ำ ปีระกา เบญจศก จ.ศ. 1295 ตรงวันที่ [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2477]] พระชนมายุ 45 ชันษา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา ได้ประชวรพระโรควักกะประมาณ 25 ปี มีพระอาการมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา ครั้นถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2477 ก็เริ่มมีพระอาการมากขึ้น ในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกันมีพระอาการประชวรไข้หวัดใหญ่และการอักเสบที่พระทนต์และพระศอเข้าผสม พระอาการทางไตก็กำเริบขึ้นโดยลำดับ จนเป็นเหตุสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 4 ขึ้น 5 ค่ำ ปีระกา เบญจศก จ.ศ. 1295 ตรงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 สิริพระชันษา 45 ปี


== พระเกียรติยศ ==
== พระเกียรติยศ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:48, 15 เมษายน 2563

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5
พระองค์เจ้าชั้นเอก
ประสูติ31 ตุลาคม พ.ศ. 2432
สิ้นพระชนม์18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 (45 ปี)
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมารดาเจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา[1] (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478) ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระองค์หญิงขาว เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแส เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก จ.ศ. 1251 ตรงกับวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2432

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา มีพระโสทรเชษฐาและพระโสทรขนิษฐา 2 พระองค์ คือ

พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา เป็นพระราชธิดาซึ่งเป็นที่สนิทสิเนหาและได้รับพระเมตตากรุณาจากสมเด็จพระบรมชนกนาถพระปิยมหาราชเป็นอันมาก เมื่อมีพระชันษาครบกำหนดโสกันต์ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพิธีโสกันต์ตามพระราชประเพณี และให้ทรงศึกษาวิชาหนังสือไทยบ้าง ฝรั่งบ้าง ประกอบทั้งการฝีมือเย็บปักถักร้อย ด้วยเหตุนี้พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาจึงได้เป็นนักศึกษา มีวิชาความรู้ทันสมัย มีพระจริยามารยาทงดงาม พระทัยโอบอ้อมอารี และได้ทรงประกอบความดีไว้หลายประการ เป็นต้นว่า

  • ในพระพุทธศาสนา ทรงบำเพ็ญพระกุศลเป็นเนืองนิจได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดมัชฌันติการาม อำเภอ บางซื่อ จังหวัดพระนครซึ่งเจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 ได้สร้างไว้ และเป็นวัดของสกุลโรจนดิศ และถวายจตุปัจจัยแก่วัดนั้นเกือบทุกปี ได้ทรงบวชกุลบุตรที่มีศรัทธาจะบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาเมื่อทรงสงเคราะห์ให้ได้บวชแล้ว ก็ถวายนิจภัตต์ ประจำเดือนด้วยใครมาเรี่ยไรทำการอันใดเกี่ยวกับการศาสนาก็มักไม่ได้กลับไปมือเปล่าคงทรงร่วมการกุศลด้วยเสมอ
  • ในทางพยาบาล ก็ได้ทรงออกเงินช่วยเหลือเนือง ๆ เมื่อเจ้าจอมมารดาแสของพระองค์ท่านถึงอสัญกรรมแล้ว ก็ได้ทรงอุทิศเงินตั้งเป็นทุนไว้ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พร้อมด้วยพระขนิษฐา เรียกว่า “ทุนพระธิดาเจ้าจอมมารดาแส” และทรงเพิ่มเติมทุนนั้นเกือบทุกปี
  • ในทางการศึกษา ทรงเก็บเงินตั้งโรงเรียนขึ้นในที่ส่วนพระองค์ ทรงยกตึก 2 ชั้น ที่เคยประทับอยู่นั้นให้เป็นโรงเรียน ภายหลังเสด็จออกไปจากสวนสุนันทา ซึ่งแต่ก่อนเคยไปประทับที่ตึกนั้นก็ไม่ได้ประทับ ไปประทับในเรือนเล็ก ๆ มอบตึกใหญ่ให้เป็นโรงเรียน โรงเรียนนี้เมื่อตั้งมาหลายปีก็เจริญยิ่งขึ้นโดยลำดับ เสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งนั้นเห็นว่าจะเป็นโรงเรียนที่ถาวรมั่นคงต่อไป เพราะมีนักเรียนถึง 400 เศษ และตั้งอยู่ในย่านตำบลที่ไม่มีโรงเรียนสตรี จึงได้ประทานนามว่าโรงเรียน “ขัตยาณีผะดุง” ภายหลังได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียน “อภันตรีผะดุง” ในพระนามของพระองค์ เพราะได้ทรงออกทุนรอนตั้งขึ้น และทรงทำนุบำรุงมาช้านาน
  • ในทางช่วยเหลือประเทศในยามคับขัน ก็ได้ทรงกระทำโดยการซื้อใบกู้ของรัฐบาลสยามด้วยพระองค์เอง และทรงแนะนำชักชวนให้ผู้อื่นซื้อใบกู้อีกเป็นจำนวนไม่น้อย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา ได้ประชวรพระโรควักกะประมาณ 25 ปี มีพระอาการมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา ครั้นถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2477 ก็เริ่มมีพระอาการมากขึ้น ในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกันมีพระอาการประชวรไข้หวัดใหญ่และการอักเสบที่พระทนต์และพระศอเข้าผสม พระอาการทางไตก็กำเริบขึ้นโดยลำดับ จนเป็นเหตุสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 4 ขึ้น 5 ค่ำ ปีระกา เบญจศก จ.ศ. 1295 ตรงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 สิริพระชันษา 45 ปี

พระเกียรติยศ

พระอิสริยยศ

  • พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
  • พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468)
  • พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478)

ภายหลังการสิ้นพระชนม์

  • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - ปัจจุบัน)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ราชตระกูล

พระราชตระกูลในสามรุ่นของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา
พระชนก:
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ
กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
หม่อมน้อย
พระชนนี:
เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5
พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
พระยาอัพภันตริกามาตย์
(ดิศ โรจนดิศ)
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
จมื่นอินทร์ประพาส (เลี้ยง)
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ท้าวมังสี (ขำ)
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ขรัวยายบาง
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่ทราบ
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่ทราบ

อ้างอิง

  1. ในหนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงพระศพ ระบุพระนาม พระองค์เจ้าอภันตรีปชา [1]
  2. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๕ ฝ่ายใน, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ ง, ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๑๘๘๗
  3. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบัน ฝ่ายใน, เล่ม ๒๙, ตอน ๐ ง, ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๕, หน้า ๒๔๔๔
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายใน, เล่ม ๔๓, ตอน ๐ ง, ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๙, หน้า ๓๑๑๔