ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎของโลปีตาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[File:Hopital sin x by -0.5x.png|thumb|upright=1.5|ตัวอย่างของหลักเกณฑ์โลปีตาลของ {{math|1={{color|#ff8000|''f''(''x'')}} = {{color|#ff8000|sin(''x'')}}}} และ {{math|1={{color|#ff0000|''g''(''x'')}} = {{color|#ff0000|−0.5''x''}}}}: ฟังก์ชัน {{math|1={{color|#a00000|''h''(''x'')}} = {{color|#ff8000|''f''(''x'')}}/{{color|#ff0000|''g''(''x'')}}}} ไม่ได้กำหนดที่ {{math|1=''x'' = 0}} แต่สามารถทำให้สมบูรณ์เป็นฟังก์ชันต่อเนี่องในทั้งหมดของ {{math|'''R'''}} โดยกำหนดให้ {{math|1={{color|#a00000|''h''(0)}} = {{color|#0060ff|''f''′(0)}}/{{color|#0000ff|''g''′(0)}} = −2}}.]]
[[ไฟล์:Hopital sin x by -0.5x.png|thumb|upright=1.5|ตัวอย่างของหลักเกณฑ์โลปีตาลของ {{math|1={{color|#ff8000|''f''(''x'')}} = {{color|#ff8000|sin(''x'')}}}} และ {{math|1={{color|#ff0000|''g''(''x'')}} = {{color|#ff0000|0.5''x''}}}}: ฟังก์ชัน {{math|1={{color|#a00000|''h''(''x'')}} = {{color|#ff8000|''f''(''x'')}}/{{color|#ff0000|''g''(''x'')}}}} ไม่ได้กำหนดที่ {{math|1=''x'' = 0}} แต่สามารถทำให้สมบูรณ์เป็นฟังก์ชันต่อเนี่องในทั้งหมดของ {{math|'''R'''}} โดยกำหนดให้ {{math|1={{color|#a00000|''h''(0)}} = {{color|#0060ff|''f'''(0)}}/{{color|#0000ff|''g'''(0)}} = 2}}.]]
ใน[[แคลคูลัส]] '''หลักเกณฑ์โลปีตาล''' (l'Hôpital's rule) ใช้[[อนุพันธ์]]เพื่อช่วยในการคำนวณ[[ลิมิต (คณิตศาสตร์)|ลิมิต]]ที่อยู่ใน[[รูปแบบยังไม่กำหนด]] (indeterminate forms) หลักเกณฑ์นี้มักนำมาใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบยังไม่กำหนด เป็นรูปแบบกำหนด เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณลิมิต
ใน[[แคลคูลัส]] '''หลักเกณฑ์โลปีตาล''' (l'Hôpital's rule) ใช้[[อนุพันธ์]]เพื่อช่วยในการคำนวณ[[ลิมิต (คณิตศาสตร์)|ลิมิต]]ที่อยู่ใน[[รูปแบบยังไม่กำหนด]] (indeterminate forms) หลักเกณฑ์นี้มักนำมาใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบยังไม่กำหนด เป็นรูปแบบกำหนด เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณลิมิต



รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:08, 12 เมษายน 2563

ตัวอย่างของหลักเกณฑ์โลปีตาลของ f(x) = sin(x) และ g(x) = −0.5x: ฟังก์ชัน h(x) = f(x)/g(x) ไม่ได้กำหนดที่ x = 0 แต่สามารถทำให้สมบูรณ์เป็นฟังก์ชันต่อเนี่องในทั้งหมดของ R โดยกำหนดให้ h(0) = f(0)/g(0) = −2.

ในแคลคูลัส หลักเกณฑ์โลปีตาล (l'Hôpital's rule) ใช้อนุพันธ์เพื่อช่วยในการคำนวณลิมิตที่อยู่ในรูปแบบยังไม่กำหนด (indeterminate forms) หลักเกณฑ์นี้มักนำมาใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบยังไม่กำหนด เป็นรูปแบบกำหนด เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณลิมิต

ภาพรวม

เมื่อต้องการหาค่าลิมิตของผลหาร f(x)/g(x) ซึ่งทั้งตัวเศษและตัวส่วนมีค่าเข้าใกล้ 0 หรือ ตัวส่วนมีค่าเข้าใกล้อนันต์ หลักเกณฑ์โลปีตาล กล่าวว่า การหาอนุพันธ์ของตัวเศษและตัวส่วน จะไม่ทำให้ลิมิตเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม เรามักนิยมแปลงผลหารให้อยู่ในรูปแบบกำหนด เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณ

หรือกล่าวว่า ถ้า และ

แล้ว

โปรดสังเกตเงื่อนไขที่ว่าลิมิต f/g มีอยู่จริง บางครั้งการหาอนุพันธ์อาจได้ผลลัพธ์ที่หาลิมิตไม่ได้ในกรณีนี้หลักเกณฑ์โลปีตาลไม่ครอบคลุม

ตัวอย่างที่เป็นเลข

ให้ทำการดิฟ เศษและส่วน คือ ดิฟเศษ 2x - 4 = 2 ดิฟส่วน x - 2 = 1

เพราะฉะนั้น คำตอบเท่ากับ