ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟฉุกเฉิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
รุ่นปัจจับัน
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนบางส่วนของการแก้ไขที่ 8592781 สร้างโดย 118.172.63.207 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
เพื่ออำนวยความสะดวกปลอดภัยกับผู้อยู่อาศัย และป้องกันการฉวยโอกาสปล้นจี้ในระหว่างเหตุไฟฟ้าดับอีกด้วย
เพื่ออำนวยความสะดวกปลอดภัยกับผู้อยู่อาศัย และป้องกันการฉวยโอกาสปล้นจี้ในระหว่างเหตุไฟฟ้าดับอีกด้วย



[[หมวดหมู่:[https://protecthai.net/product-category/safety/ อุปกรณ์ความปลอดภัย]]

สั่งซื้อ [https://www.thianthong.com ไฟฉุกเฉิน และ ป้ายไฟฉุกเฉิน]
[[หมวดหมู่:เครื่องใช้ไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:เครื่องใช้ไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:[https://protecthai.net/product-category/safety/ อุปกรณ์ความปลอดภัย]]
{{โครง}}]
{{โครง}}]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:34, 10 เมษายน 2563

ไฟฉุกเฉินแบบใช้หลอดไส้
ไฟฉุกเฉินแบบใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์

ไฟฉุกเฉิน (อังกฤษ: emergency light) เป็นอุปกรณ์ให้แสงสว่างสำรองในอาคาร ซึ่งจะติดสว่างขึ้นมาอัตโนมัติเมื่อมีเหตุไฟฟ้าดับ, โดยไฟฉุกเฉินจะทำงานโดยอาศัยไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ (มักเป็นแบบตะกั่ว-กรด) ซึ่งจะชาร์จอยู่กับไฟบ้านตลอดเวลา เพื่อให้พร้อมใช้ทุกครั้งเมื่อเกิดไฟดับ

ภายในไฟฉุกเฉิน โดยพื้นฐานจะประกอบด้วยแบตเตอรี่ วงจรชาร์จ หลอดไฟ และสวิตช์อัตโนมัติ (มักเป็นรีเลย์หรือทรานซิสเตอร์), ซึ่งในสภาพปกติที่มีไฟฟ้า วงจรชาร์จจะประจุแบตเตอรี่ให้มีไฟเต็มอยู่ตลอดเวลา ส่วนสวิตช์อัตโนมัติจะตัดวงจรหลอดไฟไว้ไม่ให้ทำงาน, เมื่อเกิดไฟฟ้าดับ วงจรชาร์จจะหยุดทำงาน และสวิตช์อัตโนมัติจะทำการต่อหลอดไฟเข้ากับแบตเตอรี่ ทำให้ไฟฉุกเฉินติดสว่าง, และเมื่อไฟฟ้ากลับมาใช้ได้อีกครั้ง วงจรชาร์จจะกลับมาทำงาน และสวิตช์อัตโนมัติจะตัดวงจรหลอดไฟออก ทำให้ไฟฉุกฉินดับลง

ปัจจุบันหลอดไฟที่อยู่ในไฟฉุกเฉินรุ่นใหม่ๆจะเป็น LED สามารถใช้ความสว่างสูง ประหยัดพลังงาน จึงทำให้ระยะเวลาการให้แสงเมื่อไฟดับยาวนานมากกว่าเดิม

ในอาคารที่อยู่อาศัยสมัยใหม่ หอพัก หรือห้องชุด มักมีกฎหมายควบคุมอาคารให้มีการติดตั้งไฟฉุกเฉิน เพื่ออำนวยความสะดวกปลอดภัยกับผู้อยู่อาศัย และป้องกันการฉวยโอกาสปล้นจี้ในระหว่างเหตุไฟฟ้าดับอีกด้วย [[หมวดหมู่:อุปกรณ์ความปลอดภัย]

]