ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีบางยี่ขัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 61: บรรทัด 61:


==== ทางเข้า-ออกสถานี ====
==== ทางเข้า-ออกสถานี ====
* '''1''' ซอยจรัญสนิทวงศ์ 49/1, อาคารคอมมอนเวลธ์ปิ่นเกล้า (ลิฟต์)
* '''1''' ซอยจรัญสนิทวงศ์ 49/1, อาคารคอมมอนเวลธ์ปิ่นเกล้า (ลิฟต์) , ตลาดนัดอินดี้ปิ่นเกล้า
* '''2''' ซอยจรัญสนิทวงศ์ 55 (บันไดเลื่อนขึ้นและลง)
* '''2''' ซอยจรัญสนิทวงศ์ 55 (บันไดเลื่อนขึ้นและลง)
* '''3''' ซอยจรัญสนิทวงศ์ 42 (ลิฟต์)
* '''3''' ซอยจรัญสนิทวงศ์ 42 (ลิฟต์)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 25 มีนาคม 2563

แม่แบบ:BMCL infobox

ถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี มองจากทางยกระดับของระบบรถไฟฟ้า
ถนนจรัญสนิทวงศ์บริเวณสถานี

สถานีบางยี่ขัน (อังกฤษ: Bang Yi Khan Station, รหัส BL05) เป็นสถานีรถไฟฟ้าแบบยกระดับในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลโดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนจรัญสนิทวงศ์ หลังจากที่ข้ามถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีมาแล้ว

แผนผังสถานี

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีหลักสอง (ผ่าน สถานีบางซื่อ)
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก, ศูนย์บริการผู้โดยสารและนักท่องเที่ยว, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง

รายละเอียดสถานี

สัญลักษณ์ของสถานี

ป้ายสถานีรถไฟฟ้า MRT บางยี่ขัน
ป้ายประเพณีของสถานีบริเวณชานชาลาฝั่งเตาปูน

รูปแบบของสถานี

ชานชาลาสถานี มองออกไปยังทางยกระดับข้ามถนนคู่ขนานฯ

เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform)

ทางเข้า-ออกสถานี

  • 1 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 49/1, อาคารคอมมอนเวลธ์ปิ่นเกล้า (ลิฟต์) , ตลาดนัดอินดี้ปิ่นเกล้า
  • 2 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 55 (บันไดเลื่อนขึ้นและลง)
  • 3 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 42 (ลิฟต์)
  • 4 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40/1 (บันไดเลื่อนขึ้น)

การจัดพื้นที่ในตัวสถานี

ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร

แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย

  • 3 ชั้นชานชาลา (Platform Level)
  • 2 ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร, เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
  • 1 ชั้นระดับถนน (Ground Level)

เวลาให้บริการ

ปลายทาง วัน ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
colspan="7" style="background-color:#แม่แบบ:BTS color;color:white; height:25px" | สายเฉลิมรัชมงคล
ชานชาลาที่ 1
BL38 หลักสอง
(ผ่านบางซื่อ)
จันทร์ - ศุกร์ 05:46 23:20
เสาร์ - อาทิตย์
นักขัตฤกษ์
05:58 23:20
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง - 23:11
ชานชาลาที่ 2
BL01 ท่าพระ จันทร์ - ศุกร์ 05:49 00:17
เสาร์ - อาทิตย์
นักขัตฤกษ์
06:01 00:17

สาเหตุที่การก่อสร้างล่าช้า

อุโมงค์ลอดแยกถนนบรมราชชนนี
สะพานรถไฟข้ามแยกฯ
สะพานรถไฟข้ามแยกฯ มองระยะใกล้

เนื่องจากว่าสถานีนี้มีอุโมงค์ใต้ดิน, สะพานคู่ขนานลอยฟ้า บรมราชชนนี และบริเวณนั้นเป็นบริเวณการจราจรหนาแน่น ซึ่งขัดขวางต่อการก่อสร้าง ทำให้การก่อสร้างไม่คืบหน้าไปตามที่ต้องการ จึงมีแนวคิดที่จะสร้างเสาตอม่อดังนี้

  • 1. ใช้วิธีปักตอม่อบริเวณกลางถนน ซึ่งทะลุไปยังอุโมงค์ ทำให้ช่องทางอุโมงค์ฝั่งหนึ่งจะต้องเหลือเพียง 1 เลน จาก 2 เลน ซึ่งจะมีปัญหาการจราจรภายหลัง [1]
  • 2. ใช้วิธีปักตอม่อบริเวณบาทวิถี ซึ่งจะสามารถลดปัญหาการจราจรในระดับหนึ่ง แต่จะทำให้บาทวิถีแคบลง และอาจมีปัญหารื้อถอนท่อระบายน้ำและเวนคืนที่ดินตามมา [2]

ส่วนสะพานคู่ขนานลอยฟ้า บรมราชชนนีนั้น จะทำการก่อสร้างในระดับความสูงที่สูงกว่าปกติ หรือจะลอดข้ามสะพานคู่ขนานลอยฟ้า บรมราชชนนี เพื่อมุ่งหน้า สถานีท่าพระ ทางด้าน รฟม. กำลังตัดสินใจจะทำแบบข้างต้นในการสร้างเสาตอม่อ หรือเวนคืนที่ดินย่านนั้นๆ รวมประมาณ 84 คูหา เพื่อขยายพื้นที่บาทวิถี, ตอม่อ และร้านค้าบริเวณบาทวิถี

อ้างอิง

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีบางขุนนนท์
มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีสิรินธร
มุ่งหน้า สถานีหลักสอง
(ผ่านบางซื่อ)