ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีฟอร์ซ 10 ซีรีส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54: บรรทัด 54:
!บูสต์
!บูสต์
!ขนาด
!ขนาด
!แบนด์วิดท์
!แบรนด์วิตต์
!รูปแบบ
!รูปแบบ
|-
|-
บรรทัด 159: บรรทัด 159:
!บูสต์
!บูสต์
!ขนาด
!ขนาด
!แบนด์วิดท์
!แบรนด์วิตต์
!รูปแบบ
!รูปแบบ
|-
|-

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:50, 22 มีนาคม 2563

จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 10 ซีรีส์
วันเปิดตัวพฤษภาคม พ.ศ. 2559
รหัสรุ่นPascal (ปาสคาล) รหัส GP10x
สถาปัตยกรรมอินวิเดีย ปัสกาล
รุ่นจีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ ซีรีส์
การประมวลผล และทรานซิสเตอร์3.3 พันล้านทรานซิสเตอร์ 14 นาโนเมตร (จีพี 107)
4.4 พันล้านทรานซิสเตอร์ 16 นาโนเมตร (จีพี 106)
7.2 พันล้านทรานซิสเตอร์ 16 นาโนเมตร (จีพี 104)
12 พันล้านทรานซิสเตอร์ 16 นาโนเมตร (จีพี 102)
การ์ดแสดงผล
รุ่นล่างจีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1050
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1050 ทีไอ
รุ่นกลางจีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1060
รุ่นสูงจีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1070
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1070 ทีไอ
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1080
Enthusiastจีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1080 ทีไอ
อินวิเดีย ไททัน เอ็กซ์
อินวิเดีย ไททัน เอ็กซ์พี
การเร็นเดอร์
ไดเร็กต์ 3 ดีไดเร็กต์ 3 ดี 12.0 ระดับฟีเจอร์ 12_1
โอเพนซีแอลโอเพนซีแอล 1.2
โอเพนจีแอลโอเพนจีแอล 4.5
วูลคานวูลคาน 1.0
เอสพีไออาร์-วี
ประวัติ
รุ่นก่อนหน้าจีฟอร์ซ 900 ซีรีส์

จีฟอร์ซ 10 ซีรีส์ (อังกฤษ: GeForce GTX 10 Series[1]) เป็นตระกูลของหน่วยประมวลผลกราฟิกส์ พัฒนาโดยอินวิเดีย โดยเป็นตระกูลต่อจากจีฟอร์ซ 900 ซีรีส์ ซึ่งในตระกูลนี้ใช้สถาปัตยกรรมไมโครปัสกาล โดยพัฒนาจากสถาปัตยกรรมไมโครแม็กซ์เวลล์ ใช้เทคโนโลยี ฟินเฟต 16 นาโนเมตร ผลิตโดยทีเอสเอ็มซี ซึ่งเป็นบริษัทผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำในประเทศไต้หวัน [2]

สถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมไมโคร ของจีฟอร์ซ 10 ซีรีส์ มีชื่อว่า "ปัสกาล" ตั้งตามแบลซ ปัสกาล นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในช่วงหลังยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเปิดตัวในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2559[3]

อินวิเดียได้ประกาศว่าหน่วยประมวลผลกราฟิกปัสกาลมีหน่วยความจำความถี่สูง 4 ชั้น และมีความจุ 16 จิกะไบต์ บนรุ่นระดับสูงของหน่วยประมวลผลกราฟิก[4], ใช้เทคโนโลยี 16 นาโนเมตร,[5] สถาปัตยกรรมแบบหน่วยความจำรวม และ เอ็นวีลิงก์ ซึ่งเป็นโพรโทคอลที่เชื่อมต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง[6]

สถาปัตยกรรมถัดไป

หลังจากปัสกาลแล้ว อินวิเดียได้พัฒนาสถาปัตยกรรมถัดไป มีชื่อว่า "โวลตา" ตั้งตาม อาเลสซานโดร โวลตา นักฟิสิกส์ชาวอิตาลีในช่วงหลังยุคคริสต์ศตวรรษที่ 18[7]

ผลิตภัณฑ์

จีฟอร์ซ 10 ซีรีส์

บนในตารางนี้ จะเอารุ่น Founders Edition มาเป็นค่าเริ่มต้น โดยอาจจะแตกต่างกันไปกับผู้ผลิตการ์ดจอที่ไม่ใช่ในรุ่น Founders Edition

โมเดล วันที่เปิดตัว รหัสรุ่น ความเร็ว หน่วยความจำ CUDA Core ค่า TDP SLI
ปกติ บูสต์ ขนาด แบนด์วิดท์ รูปแบบ
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1050 25 ตุลาคม 2016 GP107-300-A1 1354 MHz 1455 MHz 2 GB 112 GB/s GDDR5 640 75 W  ไม่สำเร็จไม่รองรับ
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1050 ทีไอ GP107-400-A1 1290 MHz 1392 MHz 4 GB 768
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1060 รุ่น 3GB 18 สิงหาคม 2016 GP106-300-A1 1506 MHz 1708 MHz 3 GB 192 GB/s 1152 120 W
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1060 รุ่น 6GB 19 กรกฎาคม 2016 GP106-400-A1 6 GB 1280
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1070 10 มิถุนายน 2016 GP104-200-A1 1683 MHz 8 GB 256 GB/s 1920 150 W  สำเร็จใช้ 2 การ์ดจอ ทำเป็น SLI - HB
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1070 ทีไอ 2 พฤศจิกายน 2017 GP104-300-A1 1607 MHz 2432 180 W
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1080 27 พฤษภาคม 2016 GP104-400-A1 1733 MHz 320 GB/s GDDR5X 2560
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1080 ทีไอ 10 มีนาคม 2017 GP102-350-A1 1480 MHz 1582 MHz 11 GB 484 GB/s 3584 250 W
อินวิเดีย ไททัน เอ็กซ์ 2 สิงหาคม 2016 GP102-400-A1 1417 MHz 1531 MHz 12 GB 480 GB/s
อินวิเดีย ไททัน เอ็กซ์พี 6 เมษายน 2017 GP102-450-A1 1480 MHz 1582 MHz 547.7 GB/s 3840

จีฟอร์ซ 10 ซีรีส์ สำหรับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค

สำหรับรุ่นคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คนั้น ทางอินวิเดียได้เอากราฟิคจากการ์ดมาอยู่ในคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค โดยที่ไม่มีการตัดทอนประสิทธิภาพลงเหมือนรุ่นก่อน (หรือใส่รหัส M ลงท้าย) แต่จะปรับให้มีความเร็วที่เหมาะสม , ลดค่า TDP ลง และอาจเพิ่มจำนวน Core ได้ ทำให้ประสิทธิภาพการ์ดจอบนคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คนั้น มีความเร็วเทียบเท่าการ์ดจอบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และอัตราในการกินไฟน้อยลง

โมเดล วันที่เปิดตัว รหัสรุ่น ความเร็ว หน่วยความจำ CUDA Core ค่า TDP SLI
ปกติ บูสต์ ขนาด แบนด์วิดท์ รูปแบบ
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1050 3 มกราคม 2017 GP107 1354 MHz 1493 MHz 4 GB 112 GB/s GDDR5 640 75 W  ไม่สำเร็จไม่รองรับ
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1050 ทีไอ 1493 MHz 1620 MHz 768
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1060 16 สิงหาคม 2016 GP106 1404 MHz 1670 MHz 6 GB 192 GB/s 1280 80 W
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1070 GP104 1442 MHz 1645 MHz 8 GB 256 GB/s 2048 110 W  สำเร็จใช้ 2 การ์ดจอ
จีฟอร์ซ จีทีเอ็กซ์ 1080 1556 MHz 1733 MHz GDDR5X 2560 150 W

อ้างอิง

  1. "GTX 1080 Graphics Card". สืบค้นเมื่อ 6 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "Talks of foundry partnership between NVIDIA and Samsung (14nm) didn't succeed, and the GPU maker decided to revert to TSMC's 16nm process". สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "NVIDIA Updates GPU Roadmap; Announces Pascal". The Official NVIDIA Blog.
  4. "Nvidia Pascal GP100 GPU Flagship Will Pack A 4096-bit Memory Bus And Four 8-Hi HBM2 Stacks". สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "Talks of foundry partnership between NVIDIA and Samsung (14nm) didn't succeed, and the GPU maker decided to revert to TSMC's 16nm process". สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "NVIDIA Pascal GPU Architecture to Provide 10X Speedup for Deep Learning Apps - NVIDIA Blog". The Official NVIDIA Blog.
  7. "Nvidia's Pascal to use stacked memory, proprietary NVLink interconnect". The Tech Report. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น