ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบอร์ลินตะวันตก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
[[หมวดหมู่:สงครามเย็น]]
[[หมวดหมู่:สงครามเย็น]]
[[หมวดหมู่:เบอร์ลิน| ]]
[[หมวดหมู่:เบอร์ลิน| ]]
[[หมวดหมู่:อดีตสาธารณรัฐ]]
{{โครงเยอรมนี}}
{{โครงเยอรมนี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:10, 22 มีนาคม 2563

ภาพแสดงอาณาเขตของกรุงเบอร์ลินที่อยู่ในการปกครองของประเทศต่างๆ โดยที่เบอร์ลินตะวันตกจะแสดงด้วยสีน้ำเงิน ม่วงและฟ้า

เบอร์ลินตะวันตก เป็นชื่อเรียกของฝั่งตะวันตกของเมืองเบอร์ลิน ในช่วงปี ค.ศ. 1949 ถึง ปี ค.ศ. 1990. เมืองนี้ถูกปกครองโดยสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945. ส่วนฝั่งตะวันออกของเมืองหรือเบอร์ลินตะวันออก ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันออก ถูกปกครองโดยสหภาพโซเวียต. รอบ ๆ เบอร์ลินตะวันตกนั้นถูกโอบล้อมด้วยพื้นที่เยอรมนีตะวันออกทั้งหมด

แม้เบอร์ลินตะวันตกจะเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตกอย่างไม่เป็นทางการ แต่ก็ไม่ได้เป็นหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Bundesland. เมืองนี้จึงปกครองตัวเอง โดยกองกำลังทหารที่ควบคุมเขตนี้ มอบอำนาจการปกครองให้กับนายกเทศมนตรีเบอร์ลินตะวันตกและรัฐบาลเมือง ซึ่งมีที่ทำการอยู่ที่ศาลากลางเชินเนอแบร์ก

ในวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 สหภาพโซเวียตได้สร้างกำแพงเบอร์ลินขึ้น เพื่อปิดกั้นการเดินทางระหว่างเบอร์ลินตะวันตกและเบอร์ลินตะวันออก

เขตที่อยู่ในเบอร์ลินตะวันตก

เขตควบคุมของฝรั่งเศส (ด้านเหนือของเมือง)
  • ไรนิคเคินดอร์ฟ (Reinickendorf)
  • เว็ดดิง (Wedding)
เขตควบคุมของสหราชอาณาจักร (บริเวณกลางเมือง)
  • ชาร์ล็อทเทินบวร์ว (Charlottenburg)
  • เทียร์การ์เทิน (Tiergarten) - เทียร์การ์เทิน สวนสาธารณะใหญ่ของเมือง อยู่ที่เขตนี้
  • วิลเมิร์สดอร์ฟ (Wilmersdorf)
  • ชปันเดา (Spandau)
เขตควบคุมของสหรัฐ (ด้านใต้ของเมือง)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น