ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


== พงศาวลี ==
== พงศาวลี ==
{{ahnentafel top|width=100%|พงศาวลีของ{{PAGENAME}}}}
<center>{{ahnentafel-compact5
<center>{{ahnentafel-compact5
|style=font-size: 90%; line-height: 110%;
|style=font-size: 90%; line-height: 110%;
บรรทัด 48: บรรทัด 49:
|3= 3. หม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ
|3= 3. หม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ
|4= 4. [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|4= 4. [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|5= 5. [[เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมมารดาทับทิม]]
|5= 5. [[เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5]]
|6= 6. [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา]]
|6= 6. [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา]]
|7= 7. หม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา
|7= 7. หม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา
บรรทัด 56: บรรทัด 57:
|11= 11. อิ่ม โรจนดิศ
|11= 11. อิ่ม โรจนดิศ
|12= 12. (=8.) [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|12= 12. (=8.) [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|13= 13. [[ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)|ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด)]]
|13= 13. [[ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)]]
|14= 14. หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา)
|14= 14. หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา)
|15= 15. สุ่น กุณฑลจินดา
|15= 15. สุ่น กุณฑลจินดา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:05, 28 กุมภาพันธ์ 2563

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ
หม่อมเจ้า ชั้น 5
ประสูติ17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442
สิ้นชีพตักษัย3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 (65 ปี)
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
พระมารดาหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม โสณกุล)[1]

พระประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม โสณกุล) มีโสทรอนุชาและโสทรขนิษฐา 3 องค์ ได้แก่

และมีอนุชาต่างพระมารดา 2 องค์ ได้แก่

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช เป็นที่รักและโปรดปรานของเจ้าจอมมารดาทับทิม ผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดามาก หลังจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช สิ้นพระชนม์ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ออกมาประทับอยู่วังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร พระโอรสและพระธิดาทั้งสององค์นั้นกับทั้งหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดำรัสเรียกว่า "หญิงทับทิม" ซึ่งอัยยิกาเลี้ยงติดตัวมาแต่เล็ก ช่วยกันอุปฐากท่านมาด้วยกันกับหม่อมเจ้าที่เป็นพระสุนิสาและเป็นพระโอรส-ธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช และในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร ซึ่งเจริญวัยสำเร็จการเล่าเรียนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับมา ให้ท่านอยู่เย็นเป็นสุขสบายจนตลอดชีวิต[2]

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช มีฝีมือในการประกอบอาหารเป็นเลิศ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากเจ้าจอมมารดาทับทิมผู้เป็นอัยยิกาฝ่ายพระบิดา หม่อมเจ้าวิมลปัทมราชได้นิพนธ์ตำราอาหารไว้เมื่อตอนยังมีชนม์ชีพ ต่อมาเมื่อหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 สิริชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงศพ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 ที่วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร โดยตำราอาหารนั้นได้พิมพ์แจกในงาน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

พงศาวลี