ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย"

พิกัด: 13°44′39″N 100°33′38″E / 13.744288°N 100.560534°E / 13.744288; 100.560534
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 127: บรรทัด 127:
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==
* [[คึกฤทธิ์ ปราโมช|ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช]] นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2528
* [[คึกฤทธิ์ ปราโมช|ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช]] นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2528
* [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต]] นักประพันธ์นวนิยาย
* [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต]] (ว.ณ. ประมวญมารค) นักประพันธ์นวนิยาย
* [[จรุงจิตต์ ทีขะระ|ท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ]] นางสนองพระโอษฐ์ และ ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9
* [[จรุงจิตต์ ทีขะระ|ท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ]] นางสนองพระโอษฐ์ และ ราชเลขานุการในพระองค์ [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
* [[พวงร้อย อภัยวงศ์|ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์]] สตรีไทยคนแรกที่เป็นนักประพันธ์เพลง
* [[พวงร้อย อภัยวงศ์|ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์]] สตรีไทยคนแรกที่เป็นนักประพันธ์เพลง
* [[อุศนา ปราโมช|ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช]] ภริยา[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] นายกรัฐมนตรีไทย ผู้ก่อตั้ง[[สภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์]]
* [[อุศนา ปราโมช|ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช]] ภริยา[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] นายกรัฐมนตรีไทย ผู้ก่อตั้ง[[สภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:34, 25 กุมภาพันธ์ 2563

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
กุลสตรีวังหลัง

Wattana Wittaya Academy
ที่ตั้ง
แผนที่
ข้อมูล
ชื่ออื่นว.ว.
คำขวัญคุณธรรมนำวิชาการ
สถาปนาพ.ศ. 2417
ภาษาที่ใช้เป็นสื่อการสอนภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน ไทย ภาษาไทย
สหราชอาณาจักร ภาษาอังกฤษ
ฝรั่งเศส ภาษาฝรั่งเศส
จีน ภาษาจีน
ญี่ปุ่น ภาษาญี่ปุ่น
สี   สีขาว-สีแดง
เพลงวัฒนาวิทยาลัย
ต้นไม้ต้นมะขาม
เว็บไซต์www.wattana.ac.th/
เท้าโน้ต

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (Wattana Wittaya Academy) มีชื่อเดิมว่า"กุลสตรีวังหลัง" ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 67 สุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 เป็นโรงเรียนสตรีหญิงแห่งแรกของประเทศไทย

ประวัติ

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานพันธกิจการศึกษา มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2417 (ค.ศ. 1874) โดยมิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียนมิชชัน[1]จากสหรัฐอเมริกา เดิมมีชื่อเรียกว่า "โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง" ตั้งอยู่บริเวณพระราชวังหลัง ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของโรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงเรียนสตรีประจำ และโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของประเทศไทย โดยมิสซิสแฮเรียต เอ็มเฮาส์ เป็นครูใหญ่คนแรก มีจุดมุ่งหมายจัดการเรียนการสอนด้านการอ่านเขียน การศึกษาคริสตจริยธรรม และวิชาเย็บปักถักร้อย ซึ่งเป็นวิชาสำหรับกุลสตรีสมัยนั้น

ในปี พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921) กิจการของโรงเรียนเจริญขึ้นทำให้สถานที่ตั้งโรงเรียนเดิมไม่สามารถรองรับจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นได้ มิสเอ็ดน่า เซร่ะ โคล์ ครูใหญ่ในขณะนั้นได้ย้ายโรงเรียนมาอยู่ในสถานที่ปัจจุบันและเปลี่ยนชื่อเป็น “วัฒนาวิทยาลัย”

เกี่ยวกับโรงเรียน

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ;เครื่องหมายโรงเรียน รูปคบเพลิงอยู่ในสามเหลี่ยมใต้อักษร ว.ว. และชื่อโรงเรียนแสดงถึงแสงสว่างไปยังผู้อื่น และเป็นประทีปส่องนำทางนักเรียนให้ดำเนินไปตามทางที่ดีที่ถูกต้อง[2]

ปรัชญาโรงเรียน

คุณธรรมนำวิชาการ

อักษรย่อโรงเรียน

ว.ว.

คำขวัญ

สัตย์ซื่อ มีวินัย ใฝ่ศึกษา พัฒนาชาติ เทิดทูนศาสน์กษัตริย์

สีประจำโรงเรียน

ขาว-แดง สีขาวหมายถึง คุณธรรม แดงแก่ก่ำ หมายถึง วิชาการ

ต้นไม้ประจำโรงเรียน

ต้นมะขาม แสดงถึง ความอดทน

สิ่งสำคัญ

เด็กโรงเรียนนี้สวยและน่ารักมาก

แนวจัดการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชั้น
  • ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีหลักการทฤษฎีที่ยาก ซับซ้อน อาจจัดแยกเฉพาะ และควรเน้นการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมากขึ้นเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนเกิดความคิด ความเข้าใจและรู้จักตนเองในด้านความสามารถ ความถนัด เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพสถานศึกษาต้องจัดบรรยากาศเรียนรู้ให้เหมาะสม มีกลุ่มวิชาเลือกเพิ่มเติมให้นักเรียนเลือกเรียนประกอบด้วยกลุ่ม Intensive English course, คณิตศาสตร์,วิทยาศาสตร์,สังคมศึกษา,ศิลปะ,ภาษาฝรั่งเศส,ภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่น
  • ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4- 6 การจัดการเรียนรู้เริ่มเน้นเข้าสู่เฉพาะทางมากขึ้น มุ่งเน้นความสามารถ ความคิดระดับสูง ความถนัด และความต้องการของผู้เรียน ทั้งในด้านอาชีพ การศึกษาเฉพาะทาง ตลอดจนการศึกษาต่อ สำหรับการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ยืดหยุ่นวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมกับผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการของท้องถิ่น ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีแผนการเรียนและวิชาเลือกเพิ่มเติมต่างๆดังนี้
แผนการเรียนที่เปิดสอน
วิชาเลือกเพิ่มเติมระดับชั้นม.4
วิชาเลือกเพิ่มเติมระดับชั้นม.5
วิชาเลือกเพิ่มเติมระดับชั้นม.6
  • แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์
  • แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
  • แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์
  • แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส
  • แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น
  • แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน
  • แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-สังคมศึกษา
  • แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ศิลปะ
  • โครงสร้างของร่างกาย
  • พีชคณิต
  • ทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรม
  • สมุนไพรกับชีวิต
  • ออกแบบ
  • เขียนแบบเบื้องต้น
  • เครื่องสายไทย
  • ภาษาฝรั่งเศสเพิ่มเติม
  • ดนตรีคลาสลิก
  • นาฏลีลา
  • สืบสานเอกลักษณ์ไทย
  • กฎหมายที่ควรรู้
  • English for Tourism
  • หุ่นยนต์หรรษา
  • การแต่งคำประพันธ์
  • วรรณกรรมท้องถิ่น
  • หัตถกรรม
  • เครื่องสายผสม
  • ดนตรีสร้างสรรค์
  • ภาษาจีนเข้มข้น
  • เอกลักษณ์ไทย
  • ภูมิปัญญาไทย
  • เอกลักษณ์ไทย
  • แอโรบิค
  • การละคร
  • เซลล์
  • สารสังเคราะห์
  • วิเคราะห์ข่าวสาร
  • คณิตศาสตร์การเงิน
  • คณิตศาสตร์เข้มข้น
  • ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการโรงแรมและการท่องเที่ยว
  • ออกแบบสถาปัตยกรรม
  • จิตรกรรมไทย
  • นาฏยลักษณ์
  • ออกแบบผลิตภัณฑ์
  • งานประดิษฐ์เพื่ออาชีพ
  • ช่างประดิษฐ์ตุ๊กตา

นอกจากนี้ทางโรงเรียนยังมีกิจกรรมชมรมให้นักเรียนที่สนใจได้เลือกเรียนตามความเหมาะสมและความสนใจของตนเอง ตัวอย่างชมรมในโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัยเช่น ชมรมดนตรีไทย ชมรมวงโยธวาทิต ชมรมดนตรีสกล ชมรมการละคร ชมรมภาษาและวัฒนธรรมสเปน ชมรมหมอภาษา ชมรมไอคิโด เป็นต้น

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′39″N 100°33′38″E / 13.744288°N 100.560534°E / 13.744288; 100.560534