ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดตาลเรียง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 55: บรรทัด 55:
==ประวัติวัดตาลเรียง==
==ประวัติวัดตาลเรียง==
สมัยก่อนพื้นที่ทั่วไปของวัดตาลเรียงนี้ เป็นที่รกร้างว่างเปล่าไม่มีเจ้าของ และเป็นพื้นที่เหมาะสมในการทำนา ประชาชนจึงได้จับจองพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ทำนา และประชาชนที่มาทำนาในถิ่นนี้ ล้วนแต่เป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา จึงต้องการสร้างวัดเป็นสถานที่บำเพ็ญกุศล ให้เกิดคุณงามความดีแก่ตน ตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสืบต่อไป


สมัยก่อนพื้นที่ทั่วไปของวัดตาลเรียงนี้ เป็นที่รกร้างว่างเปล่าไม่มีเจ้าของ และเป็นพื้นที่เหมาะสมในการทำนา ประชาชนจึงได้จับจองพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ทำนา และประชาชนที่มาทำนาในถิ่นนี้ ล้วนแต่เป็นผู้นับถือ[[พระพุทธศาสนา]] จึงต้องการสร้างวัดเป็นสถานที่บำเพ็ญกุศล ให้เกิดคุณงามความดีแก่ตน ตามหลักคำสอนของ[[พระพุทธเจ้า]]สืบต่อไป
*องค์ที่ ๑ ในสมัยนั้นมีพระภิกษุองค์หนึ่ง ชื่อว่าอาจารย์ คลื้น ท่านอุปสมบทอยู่ที่วัดใหญ่โพหัก ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี ท่านมีที่นาส่วนตัวอยู่ที่บ้านตาลนี้ ที่นาของท่านนี้เมื่อสร้างวัดขึ้นแล้วจะเหมาะสมมาก เพราะที่ของท่านแปลงนี้ อยู่ติดกับคลองโพหักหรือคลองบัวงาม (คลองนี้ขุดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐) ประชาชนจึงพี้อมใจกันไปขอความกรุณาจากท่าน และท่านก็เห็นดีตกลงกับประชาชน ยกที่ดินแปลงนี้ให้เป็นที่สร้างวัด ประชาชนได้พร้อมใจกันนิมนต์ท่านให้มาเป็นประธานในการสร้างวัด และท่านก็ตกลงใจเห็นดีกับประชาชนด้วย ที่ดินแปลงนี้มีเนื้อที่ ๓๐ ไร่ ๑ งาน ๗๐ วา ท่านได้เริ่มสร้างวัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นต้นมา ท่านได้ตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดตาลเรียง” เหตุที่ตั้งชื่อเช่นนี้ก็เป็นเพราะว่า ในสมัยนั้นพื้นที่บริเวณที่สร้างวัด เป็นที่ดอน ตามคันนามีต้นตาลเรียงกันเป็นแถว ท่านจึงตั้งชื่อวัดนี้ตามสภาพท้องถิ่น ท่านได้เอาใจใส่ก่อสร้างและปกครองพระภิกษุสามเณรภายในวัดมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๒๖ ท่านได้มรณภาพที่วัดตาลเรียงนี้


องค์ที่ ๑ ในสมัยนั้นมีพระภิกษุองค์หนึ่ง ชื่อว่า'''อาจารย์คลื้น''' ท่านอุปสมบทอยู่ที่[[วัดใหญ่โพหัก]] ต.โพหัก [[อ.บางแพ]] จ.ราชบุรี ท่านมีที่นาส่วนตัวอยู่ที่บ้านตาลนี้ ที่นาของท่านนี้เมื่อสร้างวัดขึ้นแล้วจะเหมาะสมมาก เพราะที่ของท่านแปลงนี้ อยู่ติดกับคลองโพหักหรือคลองบัวงาม (คลองนี้ขุดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐) ประชาชนจึงพร้อมใจกันไปขอความกรุณาจากท่าน และท่านก็เห็นดีตกลงกับประชาชน ยกที่ดินแปลงนี้ให้เป็นที่สร้างวัด ประชาชนได้พร้อมใจกันนิมนต์ท่านให้มาเป็นประธานในการสร้างวัด และท่านก็ตกลงใจเห็นดีกับประชาชนด้วย ที่ดินแปลงนี้มีเนื้อที่ ๓๐ ไร่ ๑ งาน ๗๐ วา ท่านได้เริ่มสร้างวัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นต้นมา ท่านได้ตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดตาลเรียง” เหตุที่ตั้งชื่อเช่นนี้ก็เป็นเพราะว่า ในสมัยนั้นพื้นที่บริเวณที่สร้างวัด เป็นที่ดอน ตามคันนามีต้นตาลเรียงกันเป็นแถว ท่านจึงตั้งชื่อวัดนี้ตามสภาพท้องถิ่น ท่านได้เอาใจใส่ก่อสร้างและปกครองพระภิกษุสามเณรภายในวัดมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๒๖ ท่านได้มรณภาพที่วัดตาลเรียงนี้
*องค์ที่ ๒ ชื่อพระอธิการฉาย ท่านเกิดที่ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายรอด มารดาชื่อนางนุ่ม ท่านได้อุปสมบทที่วัดใหญ่โพหัก ประชาชนได้ไปนิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดตาลเรียง ตำบลดอนข่อย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ ท่านได้จัดการบูรณะซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างให้เรียบร้อย ท่านได้ชักชวนประชาชนจัดการสร้างโบสถ์ขึ้นมาหลังหนึ่งซึ่งทำด้วยไม้ ได้ทำพิธีปิดทองฝังลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ ท่านได้ปกครองดูแลวัดตาลเรียงนี้มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๗๓ ท่านได้มรณภาพที่วัดตาลเรียง


*องค์ที่ ชื่อว่าพระอธิการปลื้ม ฉายา จนฺทสโร ท่านเกิดที่ตำบลโพหัก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อ นายคต มารดาชื่อนางสุก นามสกุลโพธิ์มี ท่านได้อุปสมบทอยู่ที่วัดใหญ่โพหัก ประชาชนได้นิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ ท่านได้ชักชวนประชาชนจัดการสร้างศาลาการเปรียญขึ้นซึ่งทำด้วยไม้และท่านได้จัดการซ่อมแซมโบสถ์ขึ้นใหม่ ท่านได้จัดการให้มีงานปิดทองลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ท่านได้ปกครองดูแลวัดตาลเรียงนี้มาตลอด ต่อมาทางราชการได้จัดการรวมตำบลดอนข่อยมาขึ้นกับตำบลบัวงามเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ ท่านได้ปกครองวัดตาลเรียงนี้มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๙๒ ท่านก็ได้ลาออกจากการเป็นสมภารวัดตาลเรียงนี้ไป
องค์ที่ ชื่อ'''พระอธิการฉาย''' ท่านเกิดที่ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายรอด มารดาชื่อนางนุ่ม ท่านได้อุปสมบทที่วัดใหญ่โพหัก ประชาชนได้ไปนิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดตาลเรียง ตำบลดอนข่อย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ ท่านได้จัดการบูรณะซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างให้เรียบร้อย ท่านได้ชักชวนประชาชนจัดการสร้างโบสถ์ขึ้นมาหลังหนึ่งซึ่งทำด้วยไม้ ได้ทำพิธีปิดทองฝังลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ ท่านได้ปกครองดูแลวัดตาลเรียงนี้มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๗๓ ท่านได้มรณภาพที่วัดตาลเรียง


*องค์ที่ คือท่านพระครูคุณาภิรมณ์ (เชย) ฉายา คุณาภิรโต ท่านเกิดที่ตำบลดอนไผ่ อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร บิดาชื่อนายสุก มารดาชื่อนางสร้อย นามสกุล ศรีรัตน์ ท่านได้อุปสมบทที่วัดดอนคลัง อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ประชาชนได้นิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดตาลเรียงนี้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ท่านได้ชักชวนประชาชนเริ่มก่อสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมและโรงเรียนประชาบาลขึ้นพร้อมกัน ต่อมา พ.ศ. ๒๔๙๘ นายอ่อง นางคลัง วิงวอน อยู่ตำบลบัวงาม ได้ซื้อที่ดินถวายให้แก่วัดตาลเรียงนี้ เป็นจำนวน ๔ ไร่ ๓งาน ๖๘ วา ในพ.ศ. ๒๕๐๐ ประชาชนทั่วไปได้ซื้อที่ดินถวายวัดตาลเรียงจำนวน ๑๔ ไร่ ........งาน ๒๔ วา พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้ชักชวนประชาชานสร้างศาลาการเปรียญซึ่งทำด้วยไม้แบบทรงไทย มีช่อฟ้อใบระกา พ.ศ. ๒๕๑๐ ท่านได้จัดการสร้างถนนสายโพหักเข้าถึงวัดตาลเรียง ต่อมาท่านได้ลาสิกขาบทเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒
องค์ที่ ชื่อว่า'''พระอธิการปลื้ม''' ฉายา จนฺทสโร ท่านเกิดที่ตำบลโพหัก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อ นายคต มารดาชื่อนางสุก นามสกุลโพธิ์มี ท่านได้อุปสมบทอยู่ที่วัดใหญ่โพหัก ประชาชนได้นิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ ท่านได้ชักชวนประชาชนจัดการสร้างศาลาการเปรียญขึ้นซึ่งทำด้วยไม้และท่านได้จัดการซ่อมแซมโบสถ์ขึ้นใหม่ ท่านได้จัดการให้มีงานปิดทองลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ท่านได้ปกครองดูแลวัดตาลเรียงนี้มาตลอด ต่อมาทางราชการได้จัดการรวมตำบลดอนข่อยมาขึ้นกับตำบลบัวงามเมื่อ .ศ. ๒๔๘๒ ท่านได้ปกครองวัดตาลเรียงนี้มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๙๒ ท่านก็ได้ลาออกจากการเป็นสมภารวัดตาลเรียงนี้ไป


องค์ที่ ๔ คือท่าน'''พระครูคุณาภิรมณ์'' (เชย) ฉายา คุณาภิรโต ท่านเกิดที่ตำบลดอนไผ่ อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร บิดาชื่อนายสุก มารดาชื่อนางสร้อย นามสกุล ศรีรัตน์ ท่านได้อุปสมบทที่วัดดอนคลัง อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ประชาชนได้นิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดตาลเรียงนี้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ท่านได้ชักชวนประชาชนเริ่มก่อสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมและโรงเรียนประชาบาลขึ้นพร้อมกัน ต่อมา พ.ศ. ๒๔๙๘ นายอ่อง นางคลัง วิงวอน อยู่ตำบลบัวงาม ได้ซื้อที่ดินถวายให้แก่วัดตาลเรียงนี้ เป็นจำนวน ๔ ไร่ ๓งาน ๖๘ วา ในพ.ศ. ๒๕๐๐ ประชาชนทั่วไปได้ซื้อที่ดินถวายวัดตาลเรียงจำนวน ๑๔ ไร่ ........งาน ๒๔ วา พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้ชักชวนประชาชานสร้างศาลาการเปรียญซึ่งทำด้วยไม้แบบทรงไทย มีช่อฟ้อใบระกา พ.ศ. ๒๕๑๐ ท่านได้จัดการสร้างถนนสายโพหักเข้าถึงวัดตาลเรียง ต่อมาท่านได้ลาสิกขาบทเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒
*องค์ที่ ๕ คือท่านพระครูปลัดนาค ฉายา ยตฺตธมฺโม เกิดที่ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายโสม มารดาชื่อนางหลัก นามสกุลแสงอากาศ ท่านได้อุปสมบทที่วัดบัวงาม ท่านได้มาเป็นสมภารของวัดตาลเรียงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ท่านได้จัดการบูรณะเสนาสนะให้เรียบร้อยตลอดมา ท่านได้ชักชวนประชาชนสร้างอุโบสถ์หลังใหม่ขึ้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยแบบมีช่อฟ้าใบระกา ได้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ท่านได้จัดการสร้างอุโบสถหลังนี้ตลอดมา และท่านได้ชักชวนประชาชนได้ช่วยกันก่อสร้างสาธารณประโยชน์ เช่น จัดการพัฒนาถนนสายโพหัก - บัวงาม ได้จัดการนำเอาไฟฟ้าเข้ามาสู่หมู่บ้านและวัด ตลอดจนถึงได้จัดการติดต่อเรื่องก่อสร้างโรงเรียนประชาบาล เป็นต้นท่านได้กำหนดงานปิดทองฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังใหม่นี้ ในวันที่ ๑๑-๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖


องค์ที่ ๕ คือท่าน'''พระครูปลัดนาค''' ฉายา ยตฺตธมฺโม เกิดที่ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายโสม มารดาชื่อนางหลัก นามสกุลแสงอากาศ ท่านได้อุปสมบทที่วัดบัวงาม ท่านได้มาเป็นสมภารของวัดตาลเรียงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ท่านได้จัดการบูรณะเสนาสนะให้เรียบร้อยตลอดมา ท่านได้ชักชวนประชาชนสร้างอุโบสถ์หลังใหม่ขึ้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยแบบมีช่อฟ้าใบระกา ได้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ท่านได้จัดการสร้างอุโบสถหลังนี้ตลอดมา และท่านได้ชักชวนประชาชนได้ช่วยกันก่อสร้างสาธารณประโยชน์ เช่น จัดการพัฒนาถนนสายโพหัก - บัวงาม ได้จัดการนำเอาไฟฟ้าเข้ามาสู่หมู่บ้านและวัด ตลอดจนถึงได้จัดการติดต่อเรื่องก่อสร้างโรงเรียนประชาบาล เป็นต้นท่านได้กำหนดงานปิดทองฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังใหม่นี้ ในวันที่ ๑๑-๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖
*องค์ที่ ๖ คือท่านพระครูธรรมสาทิส (ฉลวย อิฏฺฐผโล) ท่านเกิดที่ตำบลปลายโพงพาง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม บิดาชื่อนายเปลี่ยน กลัดกลีบ มารดาชื่อนางผลัด กลัดกลีบ อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ วัดบางแคใหญ่ ตำบลแควอ้อม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จำพรรษาอยู่วัดบางแคใหญ่ ๑ พรรษา พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ย้ายมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ราฎร์บูรณะได้ช่วยเจ้าอาวาสบูรณะสร้างอุโบสถ ๑ หลัง ท่านจำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งนี้เป็นเวลา ๖ พรรษา เมื่อ พ.ส. ๒๕๒๘ ประชาชนชาวบ้านตาลเรียงได้นิมนต์ท่านมาจำพรรษาที่วัดตาลเรียง ท่านได้ร่วมกับญาติโยมสร้างและปรับปรุงวัดตาลเรียงให้เจริญรุ่งเรืองตลอดมา ท่านได้มรณภาพเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ นับว่าท่านมีคุณูปการแก่วัดตาลเรียงแห่งนี้เป็นอย่างมาก


องค์ที่ ๖ คือท่าน'''พระครูธรรมสาทิส''' (ฉลวย อิฏฺฐผโล) ท่านเกิดที่ตำบลปลายโพงพาง [[อำเภออัมพวา]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] บิดาชื่อนายเปลี่ยน กลัดกลีบ มารดาชื่อนางผลัด กลัดกลีบ อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ วัดบางแคใหญ่ ตำบลแควอ้อม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จำพรรษาอยู่วัดบางแคใหญ่ ๑ พรรษา พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ย้ายมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ราฎร์บูรณะได้ช่วยเจ้าอาวาสบูรณะสร้างอุโบสถ ๑ หลัง ท่านจำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งนี้เป็นเวลา ๖ พรรษา เมื่อ พ.ส. ๒๕๒๘ ประชาชนชาวบ้านตาลเรียงได้นิมนต์ท่านมาจำพรรษาที่วัดตาลเรียง ท่านได้ร่วมกับญาติโยมสร้างและปรับปรุงวัดตาลเรียงให้เจริญรุ่งเรืองตลอดมา ท่านได้มรณภาพเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ นับว่าท่านมีคุณูปการแก่วัดตาลเรียงแห่งนี้เป็นอย่างมาก
*องค์ที่ ๗ คือท่านพระครูวิสุทธิ์ปัญญาวัฒน์ (ทวี ปญฺญาวฒฺโน) องค์ปัจจุบัน สถานะเดิมท่านเป็นคนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ นายทวี ไกรเดช บิดาชื่อนายวัน มารดาชื่อนางละออง ไกรเดช อยู่บ้านเลขที่ ๘ หมู่ ๔ ณ บ้านกุ่ม ตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ ณ พัทธสีมาวัดตาลเรียง ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชชบุรี มีพระครูสุนทรปริยัติคุณ (พระปริยัติกิจโสภณ) วัดบัวงามพระอารามหลวงเป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณธรรมนาทวัดบัวงามพระอารามหลวงเป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูธรรมสาทิสวัดตาลเรียงเป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยะฐานะทางโลกท่านสำเร็จประโยควิชาชีพ (ช่างสำรวจ) วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ส่วนทางธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๔ พุทธศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นผู้ทรงพระปาฏิโมกข์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดตาลเรียงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ ท่านได้ทำการพัฒนาวัดตาลเรียงให้เจริญรุ่งเรืองเรื่อยมาจวบจนมาถึงปัจจุบัน

องค์ที่ ๗ คือท่าน'''พระครูวิสุทธิ์ปัญญาวัฒน์''' (ทวี ปญฺญาวฒฺโน) องค์ปัจจุบัน สถานะเดิมท่านเป็นคนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ นายทวี ไกรเดช บิดาชื่อนายวัน มารดาชื่อนางละออง ไกรเดช อยู่บ้านเลขที่ ๘ หมู่ ๔ ณ บ้านกุ่ม ตำบลบ้านกุ่ม [[อำเภอบางบาล]][[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ ณ พัทธสีมาวัดตาลเรียง ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชชบุรี มีพระครูสุนทรปริยัติคุณ (พระปริยัติกิจโสภณ) วัดบัวงาม พระอารามหลวงเป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณธรรมนาทวัดบัวงามพระอารามหลวงเป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูธรรมสาทิส วัดตาลเรียงเป็นพระอนุสาวนาจารย์

วิทยะฐานะทางโลกท่านสำเร็จประโยควิชาชีพ (ช่างสำรวจ) [[วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ]] เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ส่วนทางธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๔ พุทธศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] เป็นผู้ทรงพระปาฏิโมกข์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดตาลเรียงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ ท่านได้ทำการพัฒนาวัดตาลเรียงให้เจริญรุ่งเรืองเรื่อยมาจวบจนมาถึงปัจจุบัน


==ทำเนียบเจ้าอาวาส==
==ทำเนียบเจ้าอาวาส==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:15, 24 กุมภาพันธ์ 2563

วัดตาลเรียง
แผนที่
ชื่อสามัญวัดตาลเรียง
ที่ตั้ง๑ หมู่ ๖ ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ๗๐๒๑๐
ประเภทวัดราษฎร์
นิกายมหานิกาย
เจ้าอาวาสพระครูวิสุทธิ์ปัญญาวัฒน์ (ทวี ปญฺญาวฒฺโน)
กิจกรรมทำบุญถวายสังฆทานทุกวันพระตลอดทั้งปี
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดตาลเรียงเป็นวัดในพระพุทธศาสนาสังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ตั้งมาประมาณ ๑๒๐ ปี เป็นวัดที่มีความสำคัญในฐานะเป็นศูนย์กลางของชาวพุทธในบริเวณบ้านตาลเรียงวัดตาลเรียงได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๒๕

สถานที่ตั้ง

ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๑ หมู่ ๖ ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ๗๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐๓๒-๓๘๗๐๐๓ ที่ธรณีสงฆ์ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๓๐ ไร่ ๑ งาน ๗๐ ตารางวา

ทิศเหนือ ยาว ๕ เส้น – วา ติดต่อเลขที่ดิน ๑๖.๓๘.๔๐

ทิศใต้ ยาว ๔ เส้น – วา ติดต่อโรงเรียนวัดตาลเรียง (เชยประชานุกูล)

ทิศตะวันออก ยาว ๕ เส้น ๑๕ วา ติดต่อ คลองโพหัก – บัวงาม

ทิศตะวันตก ยาว ๓ เส้น ๘ วา ติดต่อ ถนนโพหัก – บัวงาม

ที่มาของชื่อวัด

จากการสืบค้นเพื่อต้องการทราบที่มาของชื่อวัดตาลเรียง ปรากฏว่าไม่พบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หลังจากสอบถาม คนในชุมชนในท้องถิ่น ทำให้ทราบและสันนิษฐานได้ว่า ในอดีตบริเวณในบริเวณที่เป็นพื้นที่ตั้งของวัดและบริเวณชุมชนโดยรอบ เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะสภาพแก่การทำนา พื้นนาโดยทั่วไปจะมีต้นตาลขึ้นเองตามธรรมชาติและประชาชนปลูกขึ้นเองบ้าง และมักจะเรียงกันเป็นแถวตามพื้นที่บนคันนา ทั้งนี้เพื่อจะนำส่วนที่เป็นผลผลิตของต้นตาลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ประชาชนในพื้นที่จึงร่วมใจกันเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านตาลเรียง” และรวมใจกันก่อตั้งวัดประจำหมู่บ้านขึ้นโดยให้ชื่อว่า “วัดตาลเรียง” พร้อมทั้งหลักฐานของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๒ ได้ประกาศยุบรวมตำบลดอนข่อย รวมกับตำบลบัวงาม แล้วกำหนดให้เป็นตำบลบัวงาม พร้อมกำหนดชื่อบ้านหมู่ที่ ๖ ที่เป็นพื้นที่ตั้งของวัดในปัจจุบันนี้ว่า “วัดตาลเรียง”

ประวัติวัดตาลเรียง

สมัยก่อนพื้นที่ทั่วไปของวัดตาลเรียงนี้ เป็นที่รกร้างว่างเปล่าไม่มีเจ้าของ และเป็นพื้นที่เหมาะสมในการทำนา ประชาชนจึงได้จับจองพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ทำนา และประชาชนที่มาทำนาในถิ่นนี้ ล้วนแต่เป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา จึงต้องการสร้างวัดเป็นสถานที่บำเพ็ญกุศล ให้เกิดคุณงามความดีแก่ตน ตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสืบต่อไป

องค์ที่ ๑ ในสมัยนั้นมีพระภิกษุองค์หนึ่ง ชื่อว่าอาจารย์คลื้น ท่านอุปสมบทอยู่ที่วัดใหญ่โพหัก ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี ท่านมีที่นาส่วนตัวอยู่ที่บ้านตาลนี้ ที่นาของท่านนี้เมื่อสร้างวัดขึ้นแล้วจะเหมาะสมมาก เพราะที่ของท่านแปลงนี้ อยู่ติดกับคลองโพหักหรือคลองบัวงาม (คลองนี้ขุดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐) ประชาชนจึงพร้อมใจกันไปขอความกรุณาจากท่าน และท่านก็เห็นดีตกลงกับประชาชน ยกที่ดินแปลงนี้ให้เป็นที่สร้างวัด ประชาชนได้พร้อมใจกันนิมนต์ท่านให้มาเป็นประธานในการสร้างวัด และท่านก็ตกลงใจเห็นดีกับประชาชนด้วย ที่ดินแปลงนี้มีเนื้อที่ ๓๐ ไร่ ๑ งาน ๗๐ วา ท่านได้เริ่มสร้างวัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นต้นมา ท่านได้ตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดตาลเรียง” เหตุที่ตั้งชื่อเช่นนี้ก็เป็นเพราะว่า ในสมัยนั้นพื้นที่บริเวณที่สร้างวัด เป็นที่ดอน ตามคันนามีต้นตาลเรียงกันเป็นแถว ท่านจึงตั้งชื่อวัดนี้ตามสภาพท้องถิ่น ท่านได้เอาใจใส่ก่อสร้างและปกครองพระภิกษุสามเณรภายในวัดมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๒๖ ท่านได้มรณภาพที่วัดตาลเรียงนี้

องค์ที่ ๒ ชื่อพระอธิการฉาย ท่านเกิดที่ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายรอด มารดาชื่อนางนุ่ม ท่านได้อุปสมบทที่วัดใหญ่โพหัก ประชาชนได้ไปนิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดตาลเรียง ตำบลดอนข่อย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ ท่านได้จัดการบูรณะซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างให้เรียบร้อย ท่านได้ชักชวนประชาชนจัดการสร้างโบสถ์ขึ้นมาหลังหนึ่งซึ่งทำด้วยไม้ ได้ทำพิธีปิดทองฝังลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ ท่านได้ปกครองดูแลวัดตาลเรียงนี้มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๗๓ ท่านได้มรณภาพที่วัดตาลเรียง

องค์ที่ ๓ ชื่อว่าพระอธิการปลื้ม ฉายา จนฺทสโร ท่านเกิดที่ตำบลโพหัก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อ นายคต มารดาชื่อนางสุก นามสกุลโพธิ์มี ท่านได้อุปสมบทอยู่ที่วัดใหญ่โพหัก ประชาชนได้นิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ ท่านได้ชักชวนประชาชนจัดการสร้างศาลาการเปรียญขึ้นซึ่งทำด้วยไม้และท่านได้จัดการซ่อมแซมโบสถ์ขึ้นใหม่ ท่านได้จัดการให้มีงานปิดทองลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ท่านได้ปกครองดูแลวัดตาลเรียงนี้มาตลอด ต่อมาทางราชการได้จัดการรวมตำบลดอนข่อยมาขึ้นกับตำบลบัวงามเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ ท่านได้ปกครองวัดตาลเรียงนี้มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๙๒ ท่านก็ได้ลาออกจากการเป็นสมภารวัดตาลเรียงนี้ไป

องค์ที่ ๔ คือท่าน'พระครูคุณาภิรมณ์ (เชย) ฉายา คุณาภิรโต ท่านเกิดที่ตำบลดอนไผ่ อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร บิดาชื่อนายสุก มารดาชื่อนางสร้อย นามสกุล ศรีรัตน์ ท่านได้อุปสมบทที่วัดดอนคลัง อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ประชาชนได้นิมนต์ท่านมาเป็นสมภารวัดตาลเรียงนี้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ท่านได้ชักชวนประชาชนเริ่มก่อสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมและโรงเรียนประชาบาลขึ้นพร้อมกัน ต่อมา พ.ศ. ๒๔๙๘ นายอ่อง นางคลัง วิงวอน อยู่ตำบลบัวงาม ได้ซื้อที่ดินถวายให้แก่วัดตาลเรียงนี้ เป็นจำนวน ๔ ไร่ ๓งาน ๖๘ วา ในพ.ศ. ๒๕๐๐ ประชาชนทั่วไปได้ซื้อที่ดินถวายวัดตาลเรียงจำนวน ๑๔ ไร่ ........งาน ๒๔ วา พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้ชักชวนประชาชานสร้างศาลาการเปรียญซึ่งทำด้วยไม้แบบทรงไทย มีช่อฟ้อใบระกา พ.ศ. ๒๕๑๐ ท่านได้จัดการสร้างถนนสายโพหักเข้าถึงวัดตาลเรียง ต่อมาท่านได้ลาสิกขาบทเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒

องค์ที่ ๕ คือท่านพระครูปลัดนาค ฉายา ยตฺตธมฺโม เกิดที่ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายโสม มารดาชื่อนางหลัก นามสกุลแสงอากาศ ท่านได้อุปสมบทที่วัดบัวงาม ท่านได้มาเป็นสมภารของวัดตาลเรียงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ท่านได้จัดการบูรณะเสนาสนะให้เรียบร้อยตลอดมา ท่านได้ชักชวนประชาชนสร้างอุโบสถ์หลังใหม่ขึ้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยแบบมีช่อฟ้าใบระกา ได้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ท่านได้จัดการสร้างอุโบสถหลังนี้ตลอดมา และท่านได้ชักชวนประชาชนได้ช่วยกันก่อสร้างสาธารณประโยชน์ เช่น จัดการพัฒนาถนนสายโพหัก - บัวงาม ได้จัดการนำเอาไฟฟ้าเข้ามาสู่หมู่บ้านและวัด ตลอดจนถึงได้จัดการติดต่อเรื่องก่อสร้างโรงเรียนประชาบาล เป็นต้นท่านได้กำหนดงานปิดทองฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังใหม่นี้ ในวันที่ ๑๑-๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖

องค์ที่ ๖ คือท่านพระครูธรรมสาทิส (ฉลวย อิฏฺฐผโล) ท่านเกิดที่ตำบลปลายโพงพาง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม บิดาชื่อนายเปลี่ยน กลัดกลีบ มารดาชื่อนางผลัด กลัดกลีบ อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ วัดบางแคใหญ่ ตำบลแควอ้อม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จำพรรษาอยู่วัดบางแคใหญ่ ๑ พรรษา พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ย้ายมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ราฎร์บูรณะได้ช่วยเจ้าอาวาสบูรณะสร้างอุโบสถ ๑ หลัง ท่านจำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งนี้เป็นเวลา ๖ พรรษา เมื่อ พ.ส. ๒๕๒๘ ประชาชนชาวบ้านตาลเรียงได้นิมนต์ท่านมาจำพรรษาที่วัดตาลเรียง ท่านได้ร่วมกับญาติโยมสร้างและปรับปรุงวัดตาลเรียงให้เจริญรุ่งเรืองตลอดมา ท่านได้มรณภาพเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ นับว่าท่านมีคุณูปการแก่วัดตาลเรียงแห่งนี้เป็นอย่างมาก

องค์ที่ ๗ คือท่านพระครูวิสุทธิ์ปัญญาวัฒน์ (ทวี ปญฺญาวฒฺโน) องค์ปัจจุบัน สถานะเดิมท่านเป็นคนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ นายทวี ไกรเดช บิดาชื่อนายวัน มารดาชื่อนางละออง ไกรเดช อยู่บ้านเลขที่ ๘ หมู่ ๔ ณ บ้านกุ่ม ตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ ณ พัทธสีมาวัดตาลเรียง ตำบลบัวงาม อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชชบุรี มีพระครูสุนทรปริยัติคุณ (พระปริยัติกิจโสภณ) วัดบัวงาม พระอารามหลวงเป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณธรรมนาทวัดบัวงามพระอารามหลวงเป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูธรรมสาทิส วัดตาลเรียงเป็นพระอนุสาวนาจารย์

วิทยะฐานะทางโลกท่านสำเร็จประโยควิชาชีพ (ช่างสำรวจ) วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ส่วนทางธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๔ พุทธศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นผู้ทรงพระปาฏิโมกข์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดตาลเรียงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ ท่านได้ทำการพัฒนาวัดตาลเรียงให้เจริญรุ่งเรืองเรื่อยมาจวบจนมาถึงปัจจุบัน

ทำเนียบเจ้าอาวาส

มีเจ้าอาวาสนับแต่ก่อตั้งวัดมาจำนวน ๗ รูป

  • ๑) พระอธิการคลื้น เป็นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๔๖ มรณภาพ
  • ๒) พระอธิการฉาย เป็นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๑ มรณภาพ
  • ๓) พระอธิการปลื้ม จนฺทสโร เป็นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๑ ลาออก
  • ๔) พระครูคุณาภิรมณ์ (เชย คุณาภิรโต) เป็นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๒ ลาสิกขาบท
  • ๕) พระครูปลัดนาค ยตฺตธมฺโม เป็นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๖ ลาออก
  • ๖) พระครูธรรมสาทิส (ฉลวย อิฏฐผโล) เป็นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๗ มรณภาพ
  • ๗) พระครูวิสุทธิ์ปัญญาวัฒน์ (ทวี ปญฺญาวฑฺฒโน) เป็นเมื่อ ๑๒ ธ.ค. พ.ศ. ๒๕๔๗ ถึง ปัจจุบัน

ศาสนาสถานในวัด

กิจกรรมภายในวัด

กิจกรรมตามโอกาสวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

แหล่งข้อมูลอื่น

  • สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี
  • สำนักงานเจ้าคณะจังหวัดราชบุรี
  • สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี
  • สำนักงานเจ้าคณะอำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

วัดไทย