ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิโรจน์ ลักขณาอดิศร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เกิดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2520 จบการศึกษาปริญญาตรีคณะวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมยานยนต์) [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และ[[ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]] (เศรษฐศาสตร์) คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (หลักสูตรนานาชาติ)<ref name=":0">[http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:yI6fU9sNkmYJ:corporate.se-ed.com/c/journal/view_article_content%3FgroupId%3D18%26articleId%3D112469%26version%3D1.1+&cd=11&hl=th&ct=clnk&gl=th ดร.วิโรจน์ ลักขณาอดิศร]</ref>
วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เกิดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2520 จบการศึกษาปริญญาตรีคณะวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมยานยนต์) [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และ[[ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]] (เศรษฐศาสตร์) คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (หลักสูตรนานาชาติ)<ref>[https://hris.parliament.go.th/ss_detail.php?sapa_id=82&ssp_id=21310&lang=th ประวัติ ดร.วิโรจน์ ลักขณาอดิศร]</ref>


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
ก่อนหน้าที่จะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เมื่อปี พ.ศ. 2541 จนถึงปี พ.ศ. 2543 ทำงานวิศวกรควบคุมคุณภาพ บริษัทอีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2543 จนถึงปี พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา บจ. โนโว ควอลิตี้ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และในปี พ.ศ. 2546 เป็นผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น และในปี พ.ศ. 2556 เป็นกรรมการ บจ. เบสแล็บ และผู้อำนวยการศูนย์การเรียนรู้ SE-ED Learning Center บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น<ref name=":0" />
ก่อนหน้าที่จะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เมื่อปี พ.ศ. 2541 จนถึงปี พ.ศ. 2543 ทำงานวิศวกรควบคุมคุณภาพ บริษัทอีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2543 จนถึงปี พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา บจ. โนโว ควอลิตี้ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และในปี พ.ศ. 2546 เป็นผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น และในปี พ.ศ. 2556 เป็นกรรมการ บจ. เบสแล็บ และผู้อำนวยการศูนย์การเรียนรู้ SE-ED Learning Center บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น


== งานการเมือง ==
== งานการเมือง ==


=== หมอนยางประชารัฐ ===
=== หมอนยางประชารัฐ ===
วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ได้โพสต์ทวิตเตอร์เกี่ยวกับการทุจริตหมอนยางประชารัฐ ระบุว่า "หมอนยางประชารัฐ กับกลิ่นทุจริต วงเงิน 18,000 ล้านบาท ผลิต 30 ล้านใบ แจกบ้านละ 1 ใบ ตกใบละ 600 บาท ราคาโรงงาน ถ้าสั่งระดับพันใบ ต้นทุนไม่ถึง 100 บาท ประเทศผลิตน้ำยางได้ปีละ 5 ล้านตัน โครงการนี้ใช้น้ำยาง แค่ 1.5 แสนตัน ช่วยพยุงราคาไม่ได้มากหรอก" เป็นต้น <ref>[https://www.posttoday.com/politic/news/609794 อนาคตใหม่คาใจ "หมอนยางประชารัฐ" ใบละ600!]</ref> ส่งผลให้พันตำรวจโท รวมนคร ทับทิมธงไธย หัวหน้าคณะทำงาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร้องทุกข์กล่าวโทษ นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร ข้อหา มีส่วนร่วมในการกระทำผิด ฐานหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา ตลอดจนดำเนินคดีทางแพ่งและอาญาให้ถึงที่สุด<ref>[https://www.khaosod.co.th/politics/news_3253288 "ธรรมนัส" แจ้งความ "วิโรจน์" ส.ส.อนาคตใหม่ โพสต์หมิ่นปมหมอนยางพารา]</ref>
วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ได้โพสต์ทวิตเตอร์เกี่ยวกับการทุจริตหมอนยางประชารัฐ ระบุว่า "หมอนยางประชารัฐ กับกลิ่นทุจริต วงเงิน 18,000 ล้านบาท ผลิต 30 ล้านใบ แจกบ้านละ 1 ใบ ตกใบละ 600 บาท ราคาโรงงาน ถ้าสั่งระดับพันใบ ต้นทุนไม่ถึง 100 บาท ประเทศผลิตน้ำยางได้ปีละ 5 ล้านตัน โครงการนี้ใช้น้ำยาง แค่ 1.5 แสนตัน ช่วยพยุงราคาไม่ได้มากหรอก" เป็นต้น <ref>[https://www.posttoday.com/politic/news/609794 อนาคตใหม่คาใจ "หมอนยางประชารัฐ" ใบละ600!]</ref> ส่งผลให้พันตำรวจโท รวมนคร ทับทิมธงไธย หัวหน้าคณะทำงาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร้องทุกข์กล่าวโทษ นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร ข้อหา มีส่วนร่วมในการกระทำผิด ฐานหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา ตลอดจนดำเนินคดีทางแพ่งและอาญาให้ถึงที่สุด<ref>[https://www.khaosod.co.th/politics/news_3253288 "ธรรมนัส" แจ้งความ "วิโรจน์" ส.ส.อนาคตใหม่ โพสต์หมิ่นปมหมอนยางพารา]</ref> วิโรจน์ ลักขณาอดิศรได้รับการยกย่องเป็น"ดาวเด่น"ของ[[สภาผู้แทนราษฎร]]<ref>[https://www.matichon.co.th/prachachuen/interview/news_1939543] มติชนออนไลน์ วิโรจน์ ลักขณาอดิศร วิศวกร ‘ผู้ตกกระไดพลอยโจน’ สู่สภาผู้แทนราษฎร สือค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:55, 21 กุมภาพันธ์ 2563

วิโรจน์ ลักขณาอดิศร
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด11 ธันวาคม พ.ศ. 2520 (46 ปี)
พรรคการเมืองพรรคอนาคตใหม่
ศิษย์เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาชีพ
  • นักการเมือง
ชื่อเล่นโรจน์

ดร.วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2520) เป็สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคอนาคตใหม่

ประวัติ

วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เกิดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2520 จบการศึกษาปริญญาตรีคณะวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมยานยนต์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)[1]

การทำงาน

ก่อนหน้าที่จะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ วิโรจน์ ลักขณาอดิศร เมื่อปี พ.ศ. 2541 จนถึงปี พ.ศ. 2543 ทำงานวิศวกรควบคุมคุณภาพ บริษัทอีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2543 จนถึงปี พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา บจ. โนโว ควอลิตี้ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และในปี พ.ศ. 2546 เป็นผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น และในปี พ.ศ. 2556 เป็นกรรมการ บจ. เบสแล็บ และผู้อำนวยการศูนย์การเรียนรู้ SE-ED Learning Center บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น

งานการเมือง

หมอนยางประชารัฐ

วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ได้โพสต์ทวิตเตอร์เกี่ยวกับการทุจริตหมอนยางประชารัฐ ระบุว่า "หมอนยางประชารัฐ กับกลิ่นทุจริต วงเงิน 18,000 ล้านบาท ผลิต 30 ล้านใบ แจกบ้านละ 1 ใบ ตกใบละ 600 บาท ราคาโรงงาน ถ้าสั่งระดับพันใบ ต้นทุนไม่ถึง 100 บาท ประเทศผลิตน้ำยางได้ปีละ 5 ล้านตัน โครงการนี้ใช้น้ำยาง แค่ 1.5 แสนตัน ช่วยพยุงราคาไม่ได้มากหรอก" เป็นต้น [2] ส่งผลให้พันตำรวจโท รวมนคร ทับทิมธงไธย หัวหน้าคณะทำงาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร้องทุกข์กล่าวโทษ นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร ข้อหา มีส่วนร่วมในการกระทำผิด ฐานหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา ตลอดจนดำเนินคดีทางแพ่งและอาญาให้ถึงที่สุด[3] วิโรจน์ ลักขณาอดิศรได้รับการยกย่องเป็น"ดาวเด่น"ของสภาผู้แทนราษฎร[4]

อ้างอิง

  1. ประวัติ ดร.วิโรจน์ ลักขณาอดิศร
  2. อนาคตใหม่คาใจ "หมอนยางประชารัฐ" ใบละ600!
  3. "ธรรมนัส" แจ้งความ "วิโรจน์" ส.ส.อนาคตใหม่ โพสต์หมิ่นปมหมอนยางพารา
  4. [1] มติชนออนไลน์ วิโรจน์ ลักขณาอดิศร วิศวกร ‘ผู้ตกกระไดพลอยโจน’ สู่สภาผู้แทนราษฎร สือค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

แหล่งข้อมูลอื่น