ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ข้อมูลเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
Sirakorn (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8697506 สร้างโดย 58.11.188.213 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา''' ({{lang-en|Bill of Quantities/B.O.Q.}}) คือ[[เอกสาร]]หนึ่งของ[[เอกสารประกวดราคา]] (Tender Documents) และ[[เอกสารสัญญา]] (Contract Documents) ที่ใช้เพื่อการ[[ประกวดราคา]]และ[[การก่อสร้าง]]
'''บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา''' ({{lang-en|Bill of Quantities/B.O.Q.}}) คือ[[เอกสาร]]หนึ่งของ[[เอกสารประกวดราคา]] (Tender Documents) และ[[เอกสารสัญญา]] (Contract Documents) ที่ใช้เพื่อการ[[ประกวดราคา]]และ[[การก่อสร้าง]]

ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.cost-design-engineeringconstruction.com/

088 9085202 LINE ID : dspday


== องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ==
== องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ==
บรรทัด 31: บรรทัด 27:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}https://www.cost-design-engineeringconstruction.com/
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:การบริหาร]]
[[หมวดหมู่:การบริหาร]]
{{โครง}}
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:32, 1 กุมภาพันธ์ 2563

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (อังกฤษ: Bill of Quantities/B.O.Q.) คือเอกสารหนึ่งของเอกสารประกวดราคา (Tender Documents) และเอกสารสัญญา (Contract Documents) ที่ใช้เพื่อการประกวดราคาและการก่อสร้าง

องค์ประกอบของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา

บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ

  • ลำดับที่ของรายการ
  • รายละเอียดของงานแต่ละประเภท
  • ปริมาณงาน (จำนวน)
  • หน่วยในการวัดเพื่อการจ่ายเงิน
  • อัตราราคาต่อหน่วย (อาจแยกเป็นราคาค่าวัสดุ และค่าแรงงาน) ของแต่ละรายการ
  • ราคารวม
  • หมายเหตุ (หากจำเป็น หรือต้องการ)

หน้าที่และความสำคัญของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ที่ใช้ในงานก่อสร้าง

  • แสดงองค์ประกอบรายละเอียดของงานต่าง ๆ
  • แสดงปริมาณงานและหน่วยที่ใช้ในการวัดและจ่ายเงิน
  • แสดงราคาของงานแต่ละประเภท
  • ใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาของผู้เข้าประกวดราคา (Tenderer /Bidder) เพื่อเป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง (ผู้รับเหมา/ Contractor) ในโครงการนั้น ๆ
  • ใช้เพื่อเป็นราคาฐาน สำหรับงานเพิ่มเติมในโครงการนั้น ๆ
  • ใช้เพื่อการเบิกจ่ายเงิน (Payment) หรือการเบิกจ่ายเงินบางส่วนในระหว่างการก่อสร้าง (Interim Payment)

ตัวอย่างของบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา สำหรับงานราชการในประเทศไทย

จากเอกสารกรมโยธาธิการและผังเมือง[1]

  • แบบฟอร์ม ปร. 4 ใช้สำหรับรวมปริมาณงานแต่ละประเภท
  • แบบฟอร์ม ปร. 5 ใช้สรุปราคาค่าก่อสร้าง

อ้างอิง