ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูฟ่ายูโรปาลีก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bigdas (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Ssttgo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 374: บรรทัด 374:
|-style="background: #E0FFFF;"
|-style="background: #E0FFFF;"
|rowspan=3|1984-85
|rowspan=3|1984-85
|{{flagicon|HUN}} [[สโมสรฟุตบอลโมล วิดี้|โมล วิดี้]]
|{{flagicon|HUN}} [[สโมสรฟุตบอลโมล วิดี|โมล วิดี]]
|'''0 – 3'''
|'''0 – 3'''
|{{flagicon|ESP}} '''[[เรอัลมาดริด]]'''
|{{flagicon|ESP}} '''[[เรอัลมาดริด]]'''
บรรทัด 381: บรรทัด 381:
|{{flagicon|ESP}} '''[[เรอัลมาดริด]]'''
|{{flagicon|ESP}} '''[[เรอัลมาดริด]]'''
|'''0 – 1'''
|'''0 – 1'''
|{{flagicon|HUN}} [[สโมสรฟุตบอลโมล วิดี้|โมล วิดี้]]
|{{flagicon|HUN}} [[สโมสรฟุตบอลโมล วิดี|โมล วิดี]]
|[[สนามกีฬาซานเตียโก เบร์นาเบว|ซานเตียโก เบร์นาเบว]],<br />[[มาดริด]] {{flagicon|ESP}}
|[[สนามกีฬาซานเตียโก เบร์นาเบว|ซานเตียโก เบร์นาเบว]],<br />[[มาดริด]] {{flagicon|ESP}}
|-style="background: #E0FFFF;"
|-style="background: #E0FFFF;"
บรรทัด 517: บรรทัด 517:
|{{flagicon|GER}} '''[[โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค]]'''
|{{flagicon|GER}} '''[[โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค]]'''
|'''0 – 0'''
|'''0 – 0'''
|{{flagicon|NED}} [[สโมสรฟุตบอลตแว็นเตอ|ทเวนเต้]]
|{{flagicon|NED}} [[สโมสรฟุตบอลตแว็นเตอ|ตแว็นเตอ]]
|[[ไรท์สตาร์ ดีดอน]],<br /> [[เมินเชินกลัทบัค ]] {{flagicon|GER}}
|[[ไรท์สตาร์ ดีดอน]],<br /> [[เมินเชินกลัทบัค ]] {{flagicon|GER}}
|-style="background: #E0FFFF;"
|-style="background: #E0FFFF;"
|{{flagicon|NED}} [[สโมสรฟุตบอลตแว็นเตอ|ทเวนเต้]]
|{{flagicon|NED}} [[สโมสรฟุตบอลตแว็นเตอ|ตแว็นเตอ]]
|'''1 – 5'''
|'''1 – 5'''
|{{flagicon|GER}} '''[[โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค]]'''
|{{flagicon|GER}} '''[[โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค]]'''
บรรทัด 791: บรรทัด 791:
|[[1971–72 UEFA Cup|1972]]
|[[1971–72 UEFA Cup|1972]]
|-
|-
!scope=row|{{flagicon|Netherlands}} [[FC Twente|ทเวนเต้]]
!scope=row|{{flagicon|Netherlands}} [[FC Twente|ตแว็นเตอ]]
|align=center|0
|align=center|0
|align=center|1
|align=center|1
บรรทัด 827: บรรทัด 827:
|[[1981–82 UEFA Cup|1982]]
|[[1981–82 UEFA Cup|1982]]
|-
|-
!scope=row|{{flagicon|Hungary}} [[MOL Vidi FC|โมล วิดี้]]
!scope=row|{{flagicon|Hungary}} [[MOL Vidi FC|โมล วิดี]]
|align=center|0
|align=center|0
|align=center|1
|align=center|1

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:59, 31 มกราคม 2563

ยูฟ่ายูโรปาลีก
ไฟล์:Uefa europa league logo 20152018.png
ก่อตั้งค.ศ. 1971 (ค.ศ. 2009 เปลี่ยนเป็นชื่อ ยูฟ่ายูโรปาลีก)
ภูมิภาคยุโรป (ยูฟ่า)
จำนวนทีม48 (รอบแบ่งกลุ่ม)
+8 clubs join after Champions League group stage[1]
160 (total)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอังกฤษ เชลซี (2 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน เซบิยา (5 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์ไทย DAZN x GOAL.com
เว็บไซต์www.uefa.com/uefaeuropaleague/index.html
ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20

ยูฟ่ายูโรปาลีก (อังกฤษ: UEFA Europa League) หรือชื่อเดิม ยูฟ่าคัพ (อังกฤษ: UEFA Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป หรือยูฟ่า ซึ่งเป็นถ้วยรองลงมาจาก ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ประวัติ

เริ่มก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน ค.ศ. 1955 ในชื่อเดิม อินเตอร์-ซิตีส์แฟส์คัพ (Inter-Cities Fairs Cup) และได้เปลี่ยนเป็น ยูฟ่าคัพ ใน ค.ศ. 1971 ปัจจุบันเป็นการแข่งขันฟุตบอลที่สำคัญอันดับสองของยุโรป รองจากยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

โดยปกติทีมที่มีสิทธิ์แข่งขันยูฟ่าคัพคือทีมที่ได้อันดับรอง ๆ ในฟุตบอลลีกของแต่ละประเทศ (ทีมแชมป์จะได้ไปแข่งยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกซึ่งเป็นรายการใหญ่กว่า) เมื่อ ค.ศ. 1999 รายการยูฟ่าคัพได้รวมกับยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพเป็นรายการเดียว ทำให้สโมสรฟุตบอลที่ชนะการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของแต่ละประเทศสามารถเข้าร่วมยูฟ่าคัพได้ด้วย โดยตั้งแต่ ค.ศ. 2009 เป็นต้นไป โดยยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพได้ถูกยกเลิกไปรวมกับรายการยูฟ่าคัพ ฟุตบอลสโมสรยุโรปรายการนี้จะถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "ยูฟ่ายูโรปาลีก" โดยจะใช้การแข่งขันรูปแบบเดียวกันกับยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้มากขึ้น

ถ้วยรางวัลยูฟ่ายูโรปาลีกมีความสูง 65 เซนติเมตร กว้าง 33 เซนติเมตร และลึกราว 23 เซนติเมตร ถือได้ว่าเป็นถ้วยรางวัลของการแข่งขันฟุตบอลทวีปยุโรปที่มีน้ำหนักมากที่สุด คือ 15 กิโลกรัม[2]

การคัดเลือกทีมเข้าแข่งขัน

แต่ละประเทศจะได้โควตาทีมที่ส่งแข่งขันจำนวนไม่เท่ากัน ซึ่งตัวเลขนี้จะอิงจากข้อมูลสถิติของยูฟ่า โดยประเทศที่ประสบความสำเร็จในการแข่งขันรายการต่าง ๆ ของยูฟ่ามาก จะได้โควตาทีมมากกว่า

เมื่อได้โควตาทีมที่ส่งแข่งขันแล้ว แต่ละประเทศจะมีวิธีการคัดเลือกทีมสโมสรเข้าแข่งแตกต่างกัน แต่จะมีเกณฑ์ทั่วไปที่เหมือนกันดังนี้

  • ทีมที่ได้อันดับที่ 3 จากรอบแบ่งกลุ่มยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจะได้ลงไปเล่นรายการนี้ในรอบแพ้คัดออกทันที
  • ทีมที่ได้อันดับในลีกรองจากทีมที่ได้ไปแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
  • ทีมที่ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลถ้วยในประเทศ

ทีมที่ไม่ผ่านเกณฑ์ 2 อย่างข้างต้น ยังมีอีก 2 วิธีในการเข้าแข่งขัน

  • ทีมอันดับรองลงไปอีกสามารถเข้าแข่งยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ โดยจะมีคัดเลือก 11 ทีมเพื่อเข้าเล่นในยูฟ่าคัพ (ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับรอบเพลย์ออฟของยูโรปาลีกแล้ว)
  • ประเทศที่ได้คะแนนแฟร์เพลย์ของยูฟ่าสูงสุดอีก 3 ประเทศจะได้โควตาเพิ่มอีกประเทศละหนึ่งทีม

ทำเนียบผู้ชนะเลิศและการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ

รอบชิงชนะเลิศ (นัดเดียว)

ฤดูกาล ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม
ยูฟ่ายูโรปาลีก
2019-20 สตาดิโอนเอเนอร์ก้ากดังส์ค,
กดัญสก์ โปแลนด์
2018-19 อังกฤษ เชลซี 4 - 1 อังกฤษ อาร์เซนอล สนามกีฬาโอลิมปิกบากู,
บากู อาเซอร์ไบจาน
2017-18 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 3 - 0 ฝรั่งเศส มาร์แซย์ ปาร์กออแล็งปิกลียอแน,
ลียง ฝรั่งเศส
2016-17 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2 - 0 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ เฟรนด์สอาเรนา,
ซอลนา สวีเดน
2015-16 สเปน เซบิยา 3 - 1 อังกฤษ ลิเวอร์พูล ซังคท์ยาค็อพ-พาร์ค,
บาเซิล สวิตเซอร์แลนด์
2014-15 สเปน เซบิยา 3 - 2 ยูเครน ดนีโปรดนีโปรเปตรอฟสค์ สตาดียอนนารอดอวือ,
วอร์ซอ โปแลนด์
2013-14 สเปน เซบิยา 0 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 2
(ดวลจุดโทษ)
โปรตุเกส ไบฟีกา ยูเวนตุส สเตเดียม,
ตูริน อิตาลี
2012-13 อังกฤษ เชลซี 2 - 1 โปรตุเกส ไบฟีกา อัมสเตอร์ดัม อารีนา,
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์
2011-12 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 3 - 0 สเปน อัตเลติกเดบิลบาโอ เนชั่นแนล อารีน่า,
บูคาเรสต์
2010-11 โปรตุเกส โปร์ตู 1 - 0 โปรตุเกส บรากา อวีวา สเตเดียม,
ดับลิน
2009-10 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 2 - 1 อังกฤษ ฟูลัม ฟ็อล์คสพาร์คชตาดิโยน,
ฮัมบวร์ค
ยูฟ่าคัพ
2008-09 ยูเครน ชัคตาร์โดเนตสค์ 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
เยอรมนี แวร์เดอร์เบรเมิน ซูครูซาราโคกลูสเตเดียม,
อิสตันบูล
2007-08 รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 2 - 0 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์,
แมนเชสเตอร์
2006-07 สเปน เซบิยา 2 - 2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
3 - 1
(ดวลจุดโทษ)
สเปน อัสปัญญ็อล แฮมป์เดนพาร์ก,
กลาสโกว์
2005-06 สเปน เซบิยา 4 - 0 อังกฤษ มิดเดิลส์เบรอ ฟีลิปส์สตาดีโยน,
ไอนด์โฮเวน
2004-05 รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก 3 - 1 โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน เอสตาดิโอโชเซ่อัลวาลาด,
ลิสบอน
2003-04 สเปน บาเลนเซีย 2 - 0 ฝรั่งเศส มาร์แซย์ แกน ยูวิล,
โกเธนเบิร์ก
2002-03 โปรตุเกส โปร์ตู 3 - 2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
สกอตแลนด์ เซลติก เบนีโต บียามาริน,
เซบิยา
2001-02 เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 3 - 2 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เดอเกยป์,
รอตเทอร์ดาม
2000-01 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 5 - 4
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
สเปน อาลาเบส เว็สท์ฟาเลินชตาดีอ็อน,
ดอร์ทมุนท์
1999-2000 ตุรกี กาลาทาซาไร 0 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 1
(ดวลจุดโทษ)
อังกฤษ อาร์เซนอล พาร์เคน สเตเดี้ยม,
โคเปนเฮเกน
1998-99 อิตาลี ปาร์มา 3 - 0 ฝรั่งเศส มาร์แซย์ สนามกีฬาลุจนีกี,
มอสโก
1997-98 อิตาลี อินเตอร์มิลาน 3 - 0 อิตาลี ลาซีโอ ปาร์กเดแพร็งส์,
ปารีส

รอบชิงชนะเลิศ (สองนัดเหย้า-เยือน)

ฤดูกาล ทีมเหย้า ผลคะแนน ทีมเยือน สนาม
1996-97 เยอรมนี ชัลเคอ 04 1 – 0 อิตาลี อินเตอร์มิลาน พาราคิสดอน สเตเดี้ยม,
เก็ลเซินเคียร์เชิน เยอรมนี
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 – 0 เยอรมนี ชัลเคอ 04 ซานซีโร,
มิลาน อิตาลี
รวมผลสองนัด ชัลเคอ 04 คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 1–1 (ชนะดวลจุดโทษ4–1)
1995-96 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 2 – 0 ฝรั่งเศส บอร์โด โอลิมปิค สเตเดียม มิวนิก,
มิวนิก เยอรมนี
ฝรั่งเศส บอร์โด 1 – 3 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก สตาร์ เดอ พาริ ลีซีอู,
บอร์โด ฝรั่งเศส
รวมผลสองนัด ไบเอิร์นมิวนิก คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 5-1
1994-95 อิตาลี ปาร์มา 1 – 0 อิตาลี ยูเวนตุส เอนนีโอตาร์ดีนี,
ปาร์มา อิตาลี
อิตาลี ยูเวนตุส 1 – 1 อิตาลี ปาร์มา สตาดีโอเดลเลอัลปี,
ตูริน อิตาลี
รวมผลสองนัด ปาร์มา คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-1
1993-94 ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 0 – 1 อิตาลี อินเตอร์มิลาน เอิร์นส์ท-แฮปเปิล-สตาดิโอน,
วัลส์-ไซเซินไฮม์ ออสเตรีย
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 – 0 ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ซาน ซิโร่,
มิลาน อิตาลี
รวมผลสองนัด อินเตอร์มิลาน คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-0
1992-93 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 1 – 3 อิตาลี ยูเวนตุส เว็สท์ฟาเลินชตาดีอ็อน,
ดอร์ทมุนท์ เยอรมนี
อิตาลี ยูเวนตุส 3 – 0 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ สตาดีโอเดลเลอัลปี,
ตูริน อิตาลี
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 6-1
1991-92 อิตาลี โตริโน 2 – 2 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ สตาดีโอเดลเลอัลปี,
ตูริน อิตาลี
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 0 – 0 อิตาลี โตริโน สนามกีฬาโอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม),
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์
รวมผลสองนัด อายักซ์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-2 (กฎประตูทีมเยือน)
1990-91 อิตาลี อินเตอร์มิลาน 2 – 0 อิตาลี โรมา ซาน ซิโร่,
มิลาน อิตาลี
อิตาลี โรมา 1 – 0 อิตาลี อินเตอร์มิลาน สตาดีโอโอลิมปีโก,
โรม อิตาลี
รวมผลสองนัด อินเตอร์มิลาน คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-1
1989-90 อิตาลี ยูเวนตุส 3 – 1 อิตาลี ฟีออเรนตีนา สตาดีโอเดลเลอัลปี,
ตูริน อิตาลี
อิตาลี ฟีออเรนตีนา 0 – 0 อิตาลี ยูเวนตุส อาร์เตมีโอ ฟรังกี,
ฟลอเรนซ์ อิตาลี
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3-1
1988-89 อิตาลี นาโปลี 2– 1 เยอรมนี ชตุทท์การ์ท สตาดีโอซานเปาโล,
เนเปิลส์ อิตาลี
เยอรมนี ชตุทท์การ์ท 3 – 3 อิตาลี นาโปลี เมอซิเดส-เบนซ์ อารีนา,
ชตุทท์การ์ท อิตาลี
รวมผลสองนัด นาโปลี คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 5-4
1987-88 สเปน อัสปัญญ็อล 3 – 0 เยอรมนี ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน กูร์เน็ลยา-อัลปรัต,
บาร์เซโลนา สเปน
เยอรมนี ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน 3 – 0 สเปน อัสปัญญ็อล เบอาเรนา,
เลเวอร์คูเซิน เยอรมนี
รวมผลสองนัด ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3-3 (ชนะดวลจุดโทษ3–2)
1986-87 สวีเดน อีเอฟโค เยอเตอบอร์ 1 – 0 สกอตแลนด์ ดันดี ยูไนเต็ด แกน ยูวิล,
โกเธนเบิร์ก สวีเดน
สกอตแลนด์ ดันดี ยูไนเต็ด 1 – 1 สวีเดน อีเอฟโค เยอเตอบอร์ ไทนาคิดส์ ปาร์ค,
ดันดี สกอตแลนด์
รวมผลสองนัด อีเอฟโค เยอเตอบอร์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-1
1985-86 สเปน เรอัลมาดริด 5 – 1 เยอรมนี เอฟเซ โคโลญจน์ ซานเตียโก เบร์นาเบว,
มาดริด สเปน
เยอรมนี เอฟเซ โคโลญจน์ 2 – 0 สเปน เรอัลมาดริด โอลิมเปียชตาดิโยน,
เบอร์ลิน เยอรมนี
รวมผลสองนัด เรอัลมาดริด คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 5-3


1984-85 ฮังการี โมล วิดี 0 – 3 สเปน เรอัลมาดริด โซสโตอี สตาดิโอน,
เซแก็ชแฟเฮร์วาร์ ฮังการี
สเปน เรอัลมาดริด 0 – 1 ฮังการี โมล วิดี ซานเตียโก เบร์นาเบว,
มาดริด สเปน
รวมผลสองนัด เรอัลมาดริด คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3–1
1983-84 เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ 1 – 1 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ คิง เบาดูอิน สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์ เบลเยียม
อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 1 – 1 เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ ไวต์ฮาร์ตเลน,
ลอนดอน อังกฤษ
รวมผลสองนัด ทอตนัมฮอตสเปอร์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-2 (ชนะดวลจุดโทษ4–3)


1982-83 เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ 1 – 0 โปรตุเกส ไบฟีกา คิง เบาดูอิน สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์ เบลเยียม
โปรตุเกส ไบฟีกา 1 – 1 เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ อิสตาจีอูดาลูซ,
ลิสบอน โปรตุเกส
รวมผลสองนัด อันเดอร์เลคต์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2–1
1981-82 สวีเดน อีเอฟโค เยอเตอบอร์ 1 – 0 เยอรมนี ฮัมบวร์ค แกน ยูวิล,
โกเธนเบิร์ก สวีเดน
เยอรมนี ฮัมบวร์ค 0 – 3 สวีเดน อีเอฟโค เยอเตอบอร์ ฟ็อลคส์พาร์คชตาดีอ็อน,
ฮัมบวร์ค เยอรมนี
รวมผลสองนัด อีเอฟโค เยอเตอบอร์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 4-0
1980-81 อังกฤษ อิปสวิชทาวน์ 3 – 0 เนเธอร์แลนด์ อาแซด อัลค์มาร์ พอร์ตแมนโรด,
อิปสวิช อังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ อาแซด อัลค์มาร์ 4 – 2 อังกฤษ อิปสวิชทาวน์ สนามกีฬาโอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม),
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์
รวมผลสองนัด อิปสวิชทาวน์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 5–4
1979-80 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 3 – 2 เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท โบรุสซีอา-พาร์ค,
เมินเชินกลัทบัค เยอรมนี
เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 1 – 0 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค ค็อมแมทซ์บังค์-อาเรนา,
แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี
รวมผลสองนัด ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3-3 (กฎประตูทีมเยือน)
1978-79 สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เรดสตาร์ เบลเกรด 1 – 1 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค เรดสตาร์ สเตเดี้ยม,
เบลเกรด สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 1 – 0 สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เรดสตาร์ เบลเกรด ไรท์สตาร์ ดีดอน,
เมินเชินกลัทบัค เยอรมนี
รวมผลสองนัด โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2–1
1977-78 ฝรั่งเศส บาสเตีย 0 – 0 เนเธอร์แลนด์ ไอนด์โฮเฟิน สตาด แอมแมนเดนซารี,
บาสเตีย ฝรั่งเศส
เนเธอร์แลนด์ ไอนด์โฮเฟิน 3 – 0 ฝรั่งเศส บาสเตีย ฟีลิปส์สตาดีโยน,
ไอนด์โฮเฟิน เนเธอร์แลนด์
รวมผลสองนัด ไอนด์โฮเฟิน คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3-0
1976-77 อิตาลี ยูเวนตุส 1 – 0 สเปน อัตเลติกเดบิลบาโอ สตาดีโอโอลิมปีโกโตริโน,
ตูริน อิตาลี
สเปน อัตเลติกเดบิลบาโอ 2 – 1 อิตาลี ยูเวนตุส ซานมาเมส,
บิลบาโอ สเปน
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 2-2 (กฎประตูทีมเยือน)
1975-76 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 3 – 2 เบลเยียม คลับ บรูกก์ แอนฟีลด์,
ลิเวอร์พูล อังกฤษ
เบลเยียม คลับ บรูกก์ 1 – 1 อังกฤษ ลิเวอร์พูล ยาน เบรเดล สเตเดี้ยม,
บรูช เบลเยียม
รวมผลสองนัด ลิเวอร์พูล คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 4–3
1974-75 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 0 – 0 เนเธอร์แลนด์ ตแว็นเตอ ไรท์สตาร์ ดีดอน,
เมินเชินกลัทบัค เยอรมนี
เนเธอร์แลนด์ ตแว็นเตอ 1 – 5 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค ดีเอกแมน สเตเดี้ยม,
แอ็นสเคอเด เนเธอร์แลนด์
รวมผลสองนัด โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 5–1
1973-74 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 2 – 2 เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด ไวต์ฮาร์ตเลน,
ลอนดอน อังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 2 – 0 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ เดอเกยป์,
รอตเทอร์ดาม เนเธอร์แลนด์
รวมผลสองนัด ไฟเยอโนร์ด คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 4-2
1972-73 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 3 – 0 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค แอนฟีลด์,
ลิเวอร์พูล อังกฤษ
เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 2 – 0 อังกฤษ ลิเวอร์พูล โบรุสซีอา-พาร์ค,
เมินเชินกลัทบัค เยอรมนี
รวมผลสองนัด ลิเวอร์พูล คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3–2
1971-72 อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ 1 – 2 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ โมลีนิวส์,
วุลเวอร์แฮมป์ตัน อังกฤษ
อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 1 – 1 อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ ไวต์ฮาร์ตเลน,
ลอนดอน อังกฤษ
รวมผลสองนัด ทอตนัมฮอตสเปอร์ คว้าแชมป์ด้วยประตูรวม 3–2

ทำเนียบผู้ชนะเลิศในแต่ละสโมสร

แบ่งตามสโมสร

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีที่รองชนะเลิศ
สเปน เซบิยา 5 0 2006, 2007, 2014, 2015, 2016
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 3 1 1973, 1976, 2001 2016
อิตาลี ยูเวนตุส 3 1 1977, 1990, 1993 1995
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 3 1 1991, 1994, 1998 1997
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 3 0 2010, 2012, 2018
เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 2 2 1975, 1979 1973, 1980
อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 2 1 1972, 1984 1974
เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 2 0 1974, 2002
สวีเดน อีเอฟโค เยอเตอบอร์ 2 0 1982, 1987
สเปน เรอัลมาดริด 2 0 1985, 1986
อิตาลี ปาร์มา 2 0 1995, 1999
โปรตุเกส โปร์ตู 2 0 2003, 2011
อังกฤษ เชลซี 2 0 2013, 2019
เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ 1 1 1983 1984
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 1 1 1992 2017
เนเธอร์แลนด์ ไอนด์โฮเฟิน 1 0 1978
เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 1 0 1980
อังกฤษ อิปสวิชทาวน์ 1 0 1981
เยอรมนี ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน 1 0 1988
อิตาลี นาโปลี 1 0 1989
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1 0 1996
เยอรมนี ชัลเคอ 04 1 0 1997
ตุรกี กาลาทาซาไร 1 0 2000
สเปน บาเลนเซีย 1 0 2004
รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก 1 0 2005
รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 1 0 2008
ยูเครน ชัคตาร์โดเนตสค์ 1 0 2009
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 0 2017
โปรตุเกส ไบฟีกา 0 3 1983, 2013, 2014
ฝรั่งเศส มาร์แซย์ 0 3 1999, 2004, 2018
สเปน อัตเลติกเดบิลบาโอ 0 2 1977, 2012
สเปน อัสปัญญ็อล 0 2 1988, 2007
เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 0 2 1993, 2002
อังกฤษ อาร์เซนอล 0 2 2000, 2019
อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ 0 1 1972
เนเธอร์แลนด์ ตแว็นเตอ 0 1 1975
เบลเยียม คลับ บรูกก์ 0 1 1976
ฝรั่งเศส บาสเตีย 0 1 1978
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เรดสตาร์ เบลเกรด 0 1 1979
เนเธอร์แลนด์ อาแซด อัลค์มาร์ 0 1 1981
เยอรมนี ฮัมบวร์ค 0 1 1982
ฮังการี โมล วิดี 0 1 1985
เยอรมนี เอฟเซ โคโลญจน์ 0 1 1986
สกอตแลนด์ ดันดี ยูไนเต็ด 0 1 1987
เยอรมนี ชตุทท์การ์ท 0 1 1989
อิตาลี ฟีออเรนตีนา 0 1 1990
อิตาลี โรมา 0 1 1991
อิตาลี โตริโน 0 1 1992
ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 0 1 1994
ฝรั่งเศส บอร์โด 0 1 1996
อิตาลี ลาซีโอ 0 1 1998
สเปน อาลาเบส 0 1 2001
สกอตแลนด์ เซลติก 0 1 2003
โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 0 1 2005
อังกฤษ มิดเดิลส์เบรอ 0 1 2006
สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 0 1 2008
เยอรมนี แวร์เดอร์เบรเมิน 0 1 2009
อังกฤษ ฟูลัม 0 1 2010
โปรตุเกส บรากา 0 1 2011
ยูเครน ดนีโปรดนีโปรเปตรอฟสค์ 0 1 2015

แบ่งตามชาติ

ประเทศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ จำนวน
ธงของประเทศสเปน สเปน 11 5 16
 อังกฤษ 9 7 16
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 9 6 15
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี[A] 6 8 14
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 4 3 7
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 2 5 7
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 2 0 2
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 2 0 2
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 1 2 3
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน 1 1 2
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี 1 0 1
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 0 5 5
 สกอตแลนด์ 0 3 3
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 0 1 1
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี 0 1 1
ยูโกสลาเวีย 0 1 1
หมายเหตุ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. The top two teams in each group advance to the round of 32, where they are joined by the eight third-place teams in the Champions League group phase.
  2. "เรื่องของ (ถ้วย) แชมป์". สยามสปอร์ต. 1999-11-30.

แหล่งข้อมูลอื่น