ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นตรง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
~riley (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 180.183.237.97 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Awksauce
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
ELPH EM EESLP I NEDE PEHL!!!
[[ไฟล์:Linear functions2.PNG|thumb|เส้นตรงในระนาบสองมิติ]]
'''เส้นตรง''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: line) คือ[[เส้นโค้ง]]ในแนวตรงโดยสมบูรณ์ (ในทาง[[คณิตศาสตร์]] เส้นโค้งมีความหมายรวมถึงเส้นตรงด้วย) ที่มีความยาวเป็น[[อนันต์]] ความกว้างเป็น[[ศูนย์]] (ในทางทฤษฎี) และมีจำนวนจุดบนเส้นตรงเป็นอนันต์เช่นกัน ใน[[เรขาคณิตแบบยุคลิด]] จะมีเส้นตรงเพียงหนึ่งเส้นเท่านั้นที่ผ่าน[[จุด]]สองจุดใด ๆ และเป็น[[ระยะทาง]]ที่สั้นที่สุด การวาดเส้นตรงสามารถทำได้โดยใช้เครื่องมือที่มี[[สันตรง]] เช่น[[ไม้บรรทัด]] และอาจเติม[[ลูกศร]]ลงไปที่ปลายทั้งสองข้างเพื่อแสดงว่ามันมีความยาวเป็นอนันต์

เส้นตรงสองเส้นที่[[แตกต่าง]]กันในสอง[[มิติ]]สามารถ[[เส้นขนาน|ขนาน]]กันได้ ซึ่งหมายความว่าเส้นตรงทั้งสองเส้นนั้นจะไม่[[จุดตัด|ตัดกัน]]ที่ตำแหน่งใด ๆ ถึงแม้ต่อความยาวออกไปอีกก็ตาม ส่วนในสามมิติหรือมากกว่านั้น เส้นตรงสองเส้นอาจจะ[[เส้นไขว้ข้าม|ไขว้ข้ามกัน]] (skew) คือไม่ตัดกันแต่ก็อาจจะไม่ขนานกันด้วย และ[[ระนาบ]]สองระนาบที่แตกต่างกันมาตัดกันจะทำให้เกิดเป็นเส้นตรงเพียงหนึ่งเส้น เรียกระนาบเหล่านั้นว่า ''ระนาบร่วมเส้นตรง'' (collinear planes) สำหรับจุดสามจุดหรือมากกว่าที่อยู่บนเส้นตรงเดียวกันจะเรียกว่า ''จุดร่วมเส้นตรง'' (collinear points)


== นิยามแบบทั่วไป ==
== นิยามแบบทั่วไป ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:35, 22 มกราคม 2563

เส้นตรงในระนาบสองมิติ

เส้นตรง (อังกฤษ: line) คือเส้นโค้งในแนวตรงโดยสมบูรณ์ (ในทางคณิตศาสตร์ เส้นโค้งมีความหมายรวมถึงเส้นตรงด้วย) ที่มีความยาวเป็นอนันต์ ความกว้างเป็นศูนย์ (ในทางทฤษฎี) และมีจำนวนจุดบนเส้นตรงเป็นอนันต์เช่นกัน ในเรขาคณิตแบบยุคลิด จะมีเส้นตรงเพียงหนึ่งเส้นเท่านั้นที่ผ่านจุดสองจุดใด ๆ และเป็นระยะทางที่สั้นที่สุด การวาดเส้นตรงสามารถทำได้โดยใช้เครื่องมือที่มีสันตรง เช่นไม้บรรทัด และอาจเติมลูกศรลงไปที่ปลายทั้งสองข้างเพื่อแสดงว่ามันมีความยาวเป็นอนันต์

เส้นตรงสองเส้นที่แตกต่างกันในสองมิติสามารถขนานกันได้ ซึ่งหมายความว่าเส้นตรงทั้งสองเส้นนั้นจะไม่ตัดกันที่ตำแหน่งใด ๆ ถึงแม้ต่อความยาวออกไปอีกก็ตาม ส่วนในสามมิติหรือมากกว่านั้น เส้นตรงสองเส้นอาจจะไขว้ข้ามกัน (skew) คือไม่ตัดกันแต่ก็อาจจะไม่ขนานกันด้วย และระนาบสองระนาบที่แตกต่างกันมาตัดกันจะทำให้เกิดเป็นเส้นตรงเพียงหนึ่งเส้น เรียกระนาบเหล่านั้นว่า ระนาบร่วมเส้นตรง (collinear planes) สำหรับจุดสามจุดหรือมากกว่าที่อยู่บนเส้นตรงเดียวกันจะเรียกว่า จุดร่วมเส้นตรง (collinear points)

นิยามแบบทั่วไป

ในปริภูมิแบบยุคลิดn (ซึ่งรวมไปถึงปริภูมิเวกเตอร์อื่น ๆ ด้วย) เราสามารถนิยามเส้นตรง L เป็นเซตย่อย (subset) ที่อยู่ในรูปแบบ

โดยที่ a และ b เป็นเวกเตอร์ที่กำหนดไว้ใน ℝn และ b ไม่เป็นเวกเตอร์ศูนย์ เวกเตอร์ b เป็นการอธิบายทิศทางของเส้นตรง และ a คือจุดที่อยู่บนเส้นตรง และตัวเลือกของเวกเตอร์อื่น ๆ ที่แตกต่างกันสำหรับ a และ b สามารถให้ผลเป็นเส้นตรงเส้นเดิมก็ได้

รังสี

ในเรขาคณิตแบบยุคลิด รังสี หรือ ครึ่งเส้นตรง คือเซตของจุด C บนเส้นตรงร่วมกับจุด A และ B ดังในภาพ โดยไม่จำกัดว่าจุด C จะต้องอยู่ระหว่างจุด A กับ B ในทางเรขาคณิตทั่วไป รังสีจะเริ่มต้นที่จุดจุดหนึ่ง แล้วต่อความยาวออกไปในทิศทางหนึ่งโดยไม่สิ้นสุด สามารถวาดได้โดยมีลูกศรเพียงหนึ่งข้างคล้ายเวกเตอร์

รังสี
รังสี

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น