ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังสารวัฏ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ให้เข้าใจเรื่องนิพพาน
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
'''สงสารวัฏ''' หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ของสัตว์โลกด้วยอำนาจ[[กิเลส]] [[กรรม]] [[วิบาก]] หมุนวนอยู่เช่นนั้นตราบเท่าที่ยังตัดกิเลส กรรม วิบากไม่ได้ <ref>[[สมเด็จพระญาณสังวร]] (สุวัฑฒนมหาเถระ) ''สัมมาทิฏฐิ'' ตามพระเถราธิบายของ ท่านพระสารีบุตรเถระ</ref> <ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548</ref>
'''สงสารวัฏ''' หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ของสัตว์โลกด้วยอำนาจ[[กิเลส]] [[กรรม]] [[วิบาก]] หมุนวนอยู่เช่นนั้นตราบเท่าที่ยังตัดกิเลส กรรม วิบากไม่ได้ <ref>[[สมเด็จพระญาณสังวร]] (สุวัฑฒนมหาเถระ) ''สัมมาทิฏฐิ'' ตามพระเถราธิบายของ ท่านพระสารีบุตรเถระ</ref> <ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548</ref>


== อ้างอิงรู้ความจริงของธาตุขันใจก็ปล่อยวางไม่ยึดตัวตนว่าเป๊นเราตัวเราไม่มีเป็นแค่ของสมมุติเข้าสู่นิพพานไม่มีผู้ตายไม่มีเกิดกับสู่สภาวะเดิม[[แนวทางพระนิพพาน|แนวทางป้ฎิบ้ติธรรม]]==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://web.archive.org/20081002071742/www.geocities.com/toursong1/kam/ch.htm ชีวิตจะยุติการเกิดได้อย่างไร จาก อภิธรรมออนไลน์.]
* [http://web.archive.org/20081002071742/www.geocities.com/toursong1/kam/ch.htm ชีวิตจะยุติการเกิดได้อย่างไร จาก อภิธรรมออนไลน์.]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:37, 14 มกราคม 2563

วัฏสงสารหรือ สังสารวัฏ หรือ สงสารวัฏ คือการเวียนว่ายตายเกิด

ความหมาย

สังสาร หรือ สงสาร แปลว่า ความท่องเที่ยวไป ในทางศาสนาพุทธหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด มิใช่หมายถึงความรู้สึกหวั่นไหวด้วยความกรุณาเมื่อเห็นผู้อื่นได้รับความทุกข์

สังสารวัฏ แปลว่า ความท่องเที่ยวไปในอาการที่เป็นวัฏฏะ การหมุนวนอยู่ในการเวียนว่ายตายเกิด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัฏสงสาร

สงสารวัฏ หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ของสัตว์โลกด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก หมุนวนอยู่เช่นนั้นตราบเท่าที่ยังตัดกิเลส กรรม วิบากไม่ได้ [1] [2]

อ้างอิงรู้ความจริงของธาตุขันใจก็ปล่อยวางไม่ยึดตัวตนว่าเป๊นเราตัวเราไม่มีเป็นแค่ของสมมุติเข้าสู่นิพพานไม่มีผู้ตายไม่มีเกิดกับสู่สภาวะเดิมแนวทางป้ฎิบ้ติธรรม

แหล่งข้อมูลอื่น


  1. สมเด็จพระญาณสังวร (สุวัฑฒนมหาเถระ) สัมมาทิฏฐิ ตามพระเถราธิบายของ ท่านพระสารีบุตรเถระ
  2. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548