ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรณีกาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
XxxFranKProxxX (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
|rowspan="15"|[[พรีแคมเบรียน|พรีแคมเบรียน]] (Precambrian)
|rowspan="15"|[[พรีแคมเบรียน|พรีแคมเบรียน]] (Precambrian)
|colspan="4" align="center"|[[บรมยุคเฮเดียน|เฮเดียน]] (Hadean)
|colspan="4" align="center"|[[บรมยุคเฮเดียน|เฮเดียน]] (Hadean)
|4567 - 4000
|4,567 - 4,000
|-
|-
|rowspan="4"|[[บรมยุคอาร์เคียน|อาร์เคียน]] (Archean)
|rowspan="4"|[[บรมยุคอาร์เคียน|อาร์เคียน]] (Archean)
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคอีโออาร์เคียน|อีโออาร์เคียน]] (Eoarchean)
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคอีโออาร์เคียน|อีโออาร์เคียน]] (Eoarchean)
|4000 - 3600
|4,000 - 3,600
|-
|-
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคพาลีโออาร์เคียน|พาลีโออาร์เคียน]] (Paleoarchean)
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคพาลีโออาร์เคียน|พาลีโออาร์เคียน]] (Paleoarchean)
|3600 - 3200
|3,600 - 3,200
|-
|-
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคมีโซอาร์เคียน|มีโซอาร์เคียน]] (Mesoarchean)
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคมีโซอาร์เคียน|มีโซอาร์เคียน]] (Mesoarchean)
|3200 - 2800
|3,200 - 2,800
|-
|-
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคนีโออาร์เคียน|นีโออาร์เคียน]] (Neoarchean)
|colspan="3" align="center"|[[มหายุคนีโออาร์เคียน|นีโออาร์เคียน]] (Neoarchean)
|2800 - 2500
|2,800 - 2,500
|-
|-
|rowspan="10"|[[บรมยุคโพรเทอโรโซอิก|โพรเทอโรโซอิก]] (Proterozoic)
|rowspan="10"|[[บรมยุคโพรเทอโรโซอิก|โพรเทอโรโซอิก]] (Proterozoic)
|rowspan="4"|[[มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก|มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก]] (Paleoproterozoic)
|rowspan="4"|[[มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก|มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก]] (Paleoproterozoic)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคไซดีเรียน|ไซดีเรียน]] (Siderian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคไซดีเรียน|ไซดีเรียน]] (Siderian)
|2500 - 2300
|2,500 - 2,300
|-
|-
|colspan="2" align="center"|[[ยุคไรเอเซียน|ไรเอเซียน]] (Rhyacian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคไรเอเซียน|ไรเอเซียน]] (Rhyacian)
|2300 - 2050
|2,300 - 2,050
|-
|-
|colspan="2" align="center"|[[ยุคออโรซีเรียน|ออโรซีเรียน]] (Orosirian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคออโรซีเรียน|ออโรซีเรียน]] (Orosirian)
|2050 - 1800
|2,050 - 1,800
|-
|-
|colspan="2" align="center"|[[ยุคสตาทีเรียน|สตาทีเรียน]] (Statherian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคสตาทีเรียน|สตาทีเรียน]] (Statherian)
|1800 - 1600
|1,800 - 1,600
|-
|-
|rowspan="3"|[[มหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก|มีโซโพรเทอโรโซอิก]] (Mesoproterozoic)
|rowspan="3"|[[มหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก|มีโซโพรเทอโรโซอิก]] (Mesoproterozoic)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคคาลิมเมียน|คาลิมเมียน]] (Calymmian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคคาลิมเมียน|คาลิมเมียน]] (Calymmian)
|1600 - 1400
|1,600 - 1,400
|-
|-
|colspan="2" align="center"|[[ยุคเอกเทเซียน|เอกเทเซียน]] (Ectasian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคเอกเทเซียน|เอกเทเซียน]] (Ectasian)
|1400 - 1200
|1,400 - 1,200
|-
|-
|colspan="2" align="center"|[[ยุคสเทเนียน|สเทเนียน]] (Stenian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคสเทเนียน|สเทเนียน]] (Stenian)
|1200 - 1000
|1,200 - 1,000
|-
|-
|rowspan="3"|[[มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก|นีโอโพรเทอโรโซอิก]] (Neoproterozoic)
|rowspan="3"|[[มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก|นีโอโพรเทอโรโซอิก]] (Neoproterozoic)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคโทเนียน|โทเนียน]] (Tonian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคโทเนียน|โทเนียน]] (Tonian)
|1000 - 720
|1,000 - 720
|-
|-
|colspan="2" align="center"|[[ยุคไครโอเจเนียน|ไครโอเจเนียน]] (Cryogenian)
|colspan="2" align="center"|[[ยุคไครโอเจเนียน|ไครโอเจเนียน]] (Cryogenian)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:05, 12 มกราคม 2563

ธรณีกาล (อังกฤษ: Geologic Time) ตามความหมายทางธรณีวิทยานั้น เป็นชื่อเรียกของระยะช่วงเวลา ซึ่งได้แบ่งลงมาเป็น บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) สมัย (Epoch) และช่วงอายุ (Age) ตามลำดับ

มาตราเวลาทางธรณีวิทยา ใช้โดยนักธรณีวิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เพื่ออธิบายเวลาที่จุดต่าง ๆ และอธิบายความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตของประวัติของโลก ตัวอย่างของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดมาตราเวลาทางธรณีวิทยา มี International Commission on Stratigraphy กำหนดชื่อของเวลาและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง (stratigraphy เป็นการศึกษาธรณีวิทยาในเรื่องชั้นต่าง ๆ ของโลก เช่นเปลือกโลก/ผิวโลกและชั้นอื่น ๆ ใต้ผิวโลกลงไป), US Geological Survey กำหนดสีมาตรฐานของเวลาทางธรณีวิทยาที่ห้วงเวลาต่าง ๆ

จากวิธีการหาเวลาในอดีตโดยการวัดการสลายของกัมมันตภาพรังสี (radiometric dating) พบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี[1][2]

ศัพทวิทยา

การแบ่งระยะช่วงเวลาใหญ่สุด คือ อภิมหาบรมยุค และแบ่งย่อยลงมาเป็น บรมยุค แบ่งเป็น บรมยุคเฮเดียน บรมยุคอาร์เคียน บรมยุคโพรเทอโรโซอิกและบรมยุคฟาเนอโรโซอิก ตามลำดับ 3 บรมยุคแรกรวมกันเป็นอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน ช่วงเวลาที่แบ่งย่อยลงมาจากบรมยุคเรียกว่า มหายุค จากนั้นแบ่งย่อยเป็นยุค สมัยและช่วงอายุตามลำดับ

ตารางธรณีกาล

เป็นตารางบ่งบอกยุคทางธรณีวิทยา มีดังนี้

อภิมหาบรมยุค (Supereon) บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) สมัย (Epoch) เวลา (ล้านปีก่อน)
พรีแคมเบรียน (Precambrian) เฮเดียน (Hadean) 4,567 - 4,000
อาร์เคียน (Archean) อีโออาร์เคียน (Eoarchean) 4,000 - 3,600
พาลีโออาร์เคียน (Paleoarchean) 3,600 - 3,200
มีโซอาร์เคียน (Mesoarchean) 3,200 - 2,800
นีโออาร์เคียน (Neoarchean) 2,800 - 2,500
โพรเทอโรโซอิก (Proterozoic) มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก (Paleoproterozoic) ไซดีเรียน (Siderian) 2,500 - 2,300
ไรเอเซียน (Rhyacian) 2,300 - 2,050
ออโรซีเรียน (Orosirian) 2,050 - 1,800
สตาทีเรียน (Statherian) 1,800 - 1,600
มีโซโพรเทอโรโซอิก (Mesoproterozoic) คาลิมเมียน (Calymmian) 1,600 - 1,400
เอกเทเซียน (Ectasian) 1,400 - 1,200
สเทเนียน (Stenian) 1,200 - 1,000
นีโอโพรเทอโรโซอิก (Neoproterozoic) โทเนียน (Tonian) 1,000 - 720
ไครโอเจเนียน (Cryogenian) 720 - 635
อีดีแอคารัน (Ediacaran) 635 - 541
ฟาเนอโรโซอิก (Phanerozoic) พาลีโอโซอิก (Paleozoic) แคมเบรียน (Cambrian) 541 - 485.4
ออร์โดวิเชียน (Ordovician) 485.4 - 443.8
ไซลูเรียน (Silurian) 443.8 - 419.2
ดีโวเนียน (Devonian) 419.2 - 358.9
คาร์บอนิเฟอรัส (Carboniferous) 358.9 - 298.9
เพอร์เมียน (Permian) 298.9 - 252.17
มีโซโซอิก (Mesozoic) ไทรแอสซิก (Triassic) 252.17 - 201.3
จูแรสซิก (Jurassic) 201.3 - 145
ครีเทเชียส (Cretaceous) 145 - 66
ซีโนโซอิก (Cenozoic) พาลีโอจีน (Paleogene) พาลีโอซีน (Paleocene) 66 - 56
อีโอซีน (Eocene) 56 - 33.9
โอลิโกซีน (Oligocene) 33.9 - 23.03
นีโอจีน (Neogene) ไมโอซีน (Miocene) 23.03 - 5.33
พลิโอซีน (Pliocene) 5.33 - 2.58
ควอเทอร์นารี (Quaternary) ไพลสโตซีน (Pleistocene) 2.58 - 0.0117
โฮโลซีน (Holocene) 0.0117-ปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. "Age of the Earth". U.S. Geological Survey. 1997. สืบค้นเมื่อ 2006-01-10.
  2. "Radiometric Time Scale". U.S. Geological Survey. 2001. สืบค้นเมื่อ 2006-01-10.