ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Boom1221/กระบะทราย4"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
=== ดาวเคราะห์ในยุคโบราณ ===
=== ดาวเคราะห์ในยุคโบราณ ===
ขณะที่ความรู้เกี่ยวกับดาวเคราะห์มีมานานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และมีทั่วไปในอารยธรรมส่วนมาก คำว่า ดาวเคราะห์ เองมีขึ้นในช่วง[[กรีซโบราณ]] ชาวกรีกส่วนมากเชื่อว่าโลกนิ่งอยู่กับที่ ณ ศูนย์กลางของเอกภพตาม[[ระบบโลกเป็นศูนย์กลาง]] และเห็นว่าวัตถุบนท้องฟ้า รวมทั้งท้องฟ้าเอง ก็โคจรรอบโลกเช่นกัน (ยกเว้น[[อริสตาเคิสแห่งซามอส]]ที่เสนอแนวคิดแรกเริ่มของ[[ระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]]) นักดาราศาสตร์ชาวกรีกใช้ศัพท์ว่า ''asteres planetai'' (ἀστέρες πλανῆται) "ดาวฤกษ์พเนจร" สำหรับแสงคล้ายดาวฤกษ์บนท้องฟ้าที่ปรากฏให้เห็นว่าเคลื่อนที่อยู่ตลอดทั้งปี ตรงกันข้ามกับ ''asteres aplaneis'' (ἀστέρες ἀπλανεῖς) "[[ดาวฤกษ์ประจำที่]]" ที่อยู่นิ่งไร้การเคลื่อนไหวเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์ดวงอื่นด้วย วัตถุดาวเคราะห์ในปัจจุบัน 5 ชิ้นที่ชาวกรีกรู้จักนั้นสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ [[ดาวพุธ]], [[ดาวศุกร์]], [[ดาวอังคาร]], [[ดาวพฤหัสบดี]] และ[[ดาวเสาร์]]


=== ดาวเคราะห์ในยุคกลาง ===
=== ดาวเคราะห์ในยุคกลาง ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:26, 11 มกราคม 2563

ภาพถ่ายของเสี้ยวหนึ่งของดาวเนปจูน (บน) และดาวบริวารไทรทัน (กลาง) ถ่ายโดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ระหว่างการบินผ่านในปี 2532

ดาวเคราะห์ได้รับคำนิยามที่รวมไปถึงเทห์ฟ้าหลากหลายประเภทนับตั้งแต่ชาวกรีกโบราณสร้างคำนิยามขึ้นมา นักดาราศาสตร์ชาวกรีกใช้ศัพท์ asteres planetai (ἀστέρες πλανῆται) "ดาวฤกษ์พเนจร" สำหรับวัตถุคล้ายดาวฤกษ์ที่ปรากฏให้เห็นว่าเคลื่อนที่ข้ามท้องฟ้า นานนับสหัสวรรษที่ศัพท์นี้รวมถึงวัตถุที่แตกต่างกันจำนวนมาก ครอบคลุมตั้งแต่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ไปจนถึงดาวบริวารและดาวเคราะห์น้อย

จนกระทั่งสิ้นสุดคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า ดาวเคราะห์ แม้จะยังไม่ได้รับการนิยาม ก็กลายเป็นศัพท์ที่ใช้หมายถึงกลุ่มเล็ก ๆ ของวัตถุในระบบสุริยะ หลังปี 2535 นักดาราศาสตร์เริ่มค้นพบวัตถุพ้นวงโคจรดาวเนปจูนจำนวนมากเพิ่มเติมและวัตถุนับร้อยที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่น การค้นพบเหล่านี้ไม่เพียงแต่เพิ่มจำนวนวัตถุที่อาจเป็นดาวเคราะห์ แต่ยังเพิ่มความหลากหลายและลักษณะเฉพาะของดาวเคราะห์เหล่านั้นอีกด้วย วัตถุที่ค้นพบใหม่บางชิ้นมีขนาดใหญ่เกือบพอที่จะเป็นดาวฤกษ์ ขณะที่วัตถุบางชิ้นมีขนาดเล็กกว่าดวงจันทร์ การค้นพบเหล่านี้แย้งแนวคิดที่เป็นไปได้ของดาวเคราะห์ที่มีมาอย่างยาวนาน

ประเด็นของนิยามของดาวเคราะห์ที่ชัดเจนกลับมาเป็นเรื่องสำคัญอีกในปี 2548 เมื่อมีการค้นพบดาวเอริส วัตถุพ้นดาวเนปจูนที่มีมวลมากกว่าดาวพลูโตที่ขณะนั้นได้รับการยอมรับให้เป็นดาวเคราะห์ การตอบกลับในเดือนสิงหาคม 2549 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (ไอเอยู) ตัดสินใจเกี่ยวกับประเด็นนี้ระหว่างการประชุมที่กรุงปราก ซึ่งนักดาราศาสตร์ให้การยอมรับไอเอยูในฐานะเป็นองค์กรระดับโลกที่จะแก้ปัญหาศัพท์เฉพาะนี้ นิยามที่ประกาศออกมานี้นำมาใช้เฉพาะวัตถุในระบบสุริยะเท่านั้น มีใจความว่าดาวเคราะห์เป็นวัตถุโคจรรอบดวงอาทิตย์ มีมวลมากพอที่จะรักษาความเป็นทรงกลม และไร้ซึ่งเทห์ฟ้าขนาดเล็กอื่นโดยรอบวงโคจร ภายใต้นิยามใหม่นี้ ดาวพลูโตและวัตถุพ้นดาวเนปจูนอื่นสิ้นสภาพจากการเป็นดาวเคราะห์ทันที แต่คำตัดสินของไอเอยูยังไม่สามารถแก้ข้อถกเถียงทั้งหมดได้ และขณะที่มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากยอมรับนิยาม บางส่วนในวงการวิทยาศาสตร์ยังคงปฏิเสธอย่างตรงไปตรงมา โดยนักวิทยาศาสตร์บางคนต้องการนิยามด้านภูมิสาสตร์กายภาพที่เฉพาะเจาะจง[1]

ประวัติ

ดาวเคราะห์ในยุคโบราณ

ขณะที่ความรู้เกี่ยวกับดาวเคราะห์มีมานานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และมีทั่วไปในอารยธรรมส่วนมาก คำว่า ดาวเคราะห์ เองมีขึ้นในช่วงกรีซโบราณ ชาวกรีกส่วนมากเชื่อว่าโลกนิ่งอยู่กับที่ ณ ศูนย์กลางของเอกภพตามระบบโลกเป็นศูนย์กลาง และเห็นว่าวัตถุบนท้องฟ้า รวมทั้งท้องฟ้าเอง ก็โคจรรอบโลกเช่นกัน (ยกเว้นอริสตาเคิสแห่งซามอสที่เสนอแนวคิดแรกเริ่มของระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง) นักดาราศาสตร์ชาวกรีกใช้ศัพท์ว่า asteres planetai (ἀστέρες πλανῆται) "ดาวฤกษ์พเนจร" สำหรับแสงคล้ายดาวฤกษ์บนท้องฟ้าที่ปรากฏให้เห็นว่าเคลื่อนที่อยู่ตลอดทั้งปี ตรงกันข้ามกับ asteres aplaneis (ἀστέρες ἀπλανεῖς) "ดาวฤกษ์ประจำที่" ที่อยู่นิ่งไร้การเคลื่อนไหวเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์ดวงอื่นด้วย วัตถุดาวเคราะห์ในปัจจุบัน 5 ชิ้นที่ชาวกรีกรู้จักนั้นสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ ดาวพุธ, ดาวศุกร์, ดาวอังคาร, ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์

ดาวเคราะห์ในยุคกลาง

โลก

ดาวเคราะห์ยุคปัจจุบัน

ดาวบริวาร

ดาวเคราะห์แคระ

ดาวพลูโต

นิยามไอเอยู

การยอมรับนิยามไอเอยู

ข้อถกเถียงที่ยังคงดำเนินอยู่

ไร้ซึ่งเทห์ฟ้าโดยรอบ

สภาพสมดุลอุทกสถิต

ดาวเคราะห์คู่และดาวบริวาร

ดาวเคราะห์นอกระบบและดาวแคระน้ำตาล

วัตถุคล้ายดาวฤกษ์ขนาดเท่าดาวเคราะห์

เชิงอรรถศาสตร์

อ้างอิง

  1. Runyon, Kirby D.; Thursday, S. Alan Stern | Published; May 17; 2018. "An organically grown planet definition". Astronomy.com. สืบค้นเมื่อ 2019-02-26.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)