ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ellywa (คุย | ส่วนร่วม)
Ellywa (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 524: บรรทัด 524:
|Basin=WPac
|Basin=WPac
|Image=Tropical Depression Milenyo 2002-08-11.jpg
|Image=Tropical Depression Milenyo 2002-08-11.jpg
|Track=18-W 2002 track.png
|Track=Tropical Storm Milenyo 2002 track.png
|Formed=11
|Formed=11
|Dissipated=14 สิงหาคม
|Dissipated=14 สิงหาคม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:58, 8 มกราคม 2563

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว10 มกราคม พ.ศ. 2545
ระบบสุดท้ายสลายตัว29 ธันวาคม พ.ศ. 2545
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเฟิงเฉิน
 • ลมแรงสูงสุด185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด920 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมดทางการ 43 ลูก,ไม่เป็นทางการ 1 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด26 ลูก
พายุไต้ฝุ่น15 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น8 ลูก (ไม่เป็นทางการ)[nb 1]
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด725 คน
ความเสียหายทั้งหมด9.54 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2002)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2543, 2544, 2545, 2546, 2547

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545 เป็นฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2545 ในฤดูกาลนี้พายุหลายลูกส่งผลกระทบกับประเทศญี่ปุ่นและจีน และมีพายุหมุนเขตร้อนในทุกเดือน โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ในภาพรวม มีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นรวม 44 ลูก ในจำนวนนี้ 26 ลูกพัฒนาเป็นพายุโซนร้อน และได้รับชื่อ ในจำนวนพายุโซนร้อน มีพายุ 15 ลูกพัฒนาขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น และในจำนวนพายุไต้ฝุ่นนั้นมีพายุไต้ฝุ่นจำนวน 8 ลูกที่เป็นพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นตามการจัดความรุนแรงของ JTWC

ฤดูกาลนี้เริ่มต้นด้วยพายุลูกแรกชื่อ ตาปะฮ์ ก่อตัวขึ้นทางด้านตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 10 มกราคม อีกสองเดือนให้หลังพายุไต้ฝุ่นมิแทก เป็นพายุไต้ฝุ่นลูกแรกที่เป็นได้ถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[nb 1] ต่อมาในเดือนมิถุนายน พายุไต้ฝุ่นชาทาอาน ส่งผลกระทบต่อสหพันธรัฐไมโครนีเซีย โดยทำให้มีปริมาณน้ำฝนตกปริมาณมหาศาล ทำให้มีผู้เสียชีวิต 48 คน และถือเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีจำนวนผู้เสียชีวิตมากที่สุดของรัฐชุก หลังจากนั้นชาทาอานได้ส่งผลกระทบต่อกวม ก่อนจะส่งผลกระทบกับประเทศญี่ปุ่นต่อไป ในเดือนสิงหาคม พายุไต้ฝุ่นรูซา กลายเป็นพายุไต้ฝุ่นที่ทำให้มีจำนวนผู้เสียชีวิตมากที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ในรอบ 43 ปี โดยทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 238 คน และสร้างความเสียหายกว่า 4.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[nb 2] พายุไต้ฝุ่นฮีโกสในเดือนตุลาคม เป็นพายุไต้ฝุ่นที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สาม ในบรรดาพายุที่พัดเข้ากรุงโตเกียว ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนพายุไต้ฝุ่นลูกสุดท้ายของฤดูกาลคือ พายุไต้ฝุ่นพงซ็อนฮวา ซึ่งเป็นหนึ่งในพายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายจำนวนมากให้กับเกาะกวม โดยสร้างความเสียหายถึง 700 ล้านดอลลาร์สหรัฐกับเกาะกวม และสลายตัวไปในวันที่ 11 ธันวาคม

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ของสหรัฐยังได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย

ภาพรวมฤดูกาล

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ

พายุโซนร้อนตาปะฮ์ (อากาโตน)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 14 มกราคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นมิแทก (บาชัง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฮากีบิส

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 21 พฤษภาคม
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
935 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.61 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงโนกูรี (เอสปาดา)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 11 มิถุนายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรามสูร (โฟลรีตา)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นชาทาอาน (โกลเรีย)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 มิถุนายน – 11 กรกฎาคม
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นหะลอง (อินได)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 16 กรกฎาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงนากรี (ฮัมบาโลส)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 13 กรกฎาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
983 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.03 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเฟิงเฉิน

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 28 กรกฎาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟงวอง (กากา)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนคัลแมกี

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 (เข้ามาในแอ่ง) – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงคัมมูริ (ลากาลัก)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟานทอง

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนหว่องฟ้ง

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรูซา

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซินลากู

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 27 สิงหาคม – 9 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นอีเล

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 30 สิงหาคม (เข้ามาในแอ่ง) – 10 กันยายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฮากูปิต

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 16 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนชังมี

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
ระยะเวลา 20 – 22 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเมขลา

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 22 – 28 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฮีโกส

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงบาหวี่

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 13 ตุลาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงไมสัก

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 – 30 ตุลาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฮูโก

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 (เข้ามาในแอ่ง) – 7 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฮูโก

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 (เข้ามาในแอ่ง) – 7 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไห่เฉิน

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 25 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นพงซ็อนฮวา

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 11 ธันวาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03W (กาโลย)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 25 มีนาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 13W (จูอัน)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 23 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 18W (มิเลนโย)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 14 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) และสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ต่างทำหน้าที่กำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อนซึ่งก่อตัวภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้พายุหมุนเขตร้อนอาจมีสองชื่อ[2] RSMC โตเกียวโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น — ศูนย์ไต้ฝุ่นจะกำหนดชื่อสากลให้กับพายุหมุนเขตร้อนในนามของคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ซึ่งพวกเขาจะประมาณความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีของพายุหมุนเขตร้อน หากมีความเร็วลมถึง 65 km/h (40 mph) พายุหมุนเขตร้อนดังกล่าวจะได้รับชื่อ[3] ส่วน PAGASA จะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งเคลื่อนตัวเข้าหรือก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ มีขอบเขตอยู่ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 135°ดะวันออก ถึง 115°ตะวันออก และระหว่างเส้นขนานที่ 5°เหนือ ถึง 25°เหนือ แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนลูกนั้นจะได้รับชื่อสากลแล้วก็ตาม[2] โดยชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญจะถูกถอนโดยทั้ง PAGASA และ คณะกรรมการไต้ฝุ่น[3] ในระหว่างฤดูกาล หากรายชื่อของภูมิภาคฟิลิปปินส์ที่เตรียมไว้ถูกใช้จนหมด PAGASA จะใช้ชื่อจากรายชื่อเพิ่มเติม ซึ่งถูกกำหนดขึ้นไว้ในแต่ละฤดูกาลมาใช้กับพายุหมุนเขตร้อนแทนชื่อที่หมดไป

ชื่อสากล

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะเป็นหน่วยงานที่กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อระบบได้รับการประมาณว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาที ที่ 65 km/h (40 mph)[4] โดย JMA จะคัดเลือกชื่อจากรายการ 140 ชื่อ ซึ่งได้รับการปรับปรุงโดย 14 ประเทศสมาชิกและดินแดนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/WMO คณะกรรมการไต้ฝุ่น[5] โดยรายชื่อด้านล่างจะเป็นรายชื่อ พร้อมเลขรหัสพายุ ชื่อที่ใช้เป็นชื่อแรกของฤดูกาล 2545 คือ ตาปะฮ์ จากชุดที่ 2 และชื่อที่ใช้เป็นชื่อสุดท้ายคือ พงซ็อนฮวา จากชุดที่ 3 รวมมีชื่อจากชุดรายชื่อถูกใช้ 24 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2545
ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ
ชุดที่ 2 0201 ตาปะฮ์
(Tapah)
ชุดที่ 2 0207 หะลอง
(Halong)
ชุดที่ 3 0213 ฟานทอง
(Phanfone)
ชุดที่ 3 0220 เมขลา
(Mekkhala)
0202 มิแทก
(Mitag)
ชุดที่ 3 0208 นากรี
(Nakri)
0214 หว่องฟ้ง
(Vongfong)
0221 ฮีโกส
(Higos)
0203 ฮากีบิส
(Hagibis)
0209 เฟิงเฉิน
(Fengshen)
0215 รูซา
(Rusa)
0222 บาหวี่
(Bavi)
0204 โนกูรี
(Noguri)
0210 คัลแมกี
(Kalmaegi)
0216 ซินลากู
(Sinlaku)
0223 ไมสัก
(Maysak)
0205 รามสูร
(Rammasun)
0211 ฟงวอง
(Fung-wong)
0218 ฮากูปิต
(Hagupit)
0225 ไห่เฉิน
(Haishen)
0206 ชาทาอาน
(Chataan)
0212 คัมมูริ
(Kammuri)
0219 ชังมี
(Changmi)
0226 พงซ็อนฮวา
(Pongsona)

หมายเหตุ: รหัสพายุสากลที่ 0217 และ 0224 ถูกใช้กับพายุเฮอร์ริเคนเอเล (Ele) 02C และพายุเฮอร์ริเคนฮูโก (Huko) 03C ตามลำดับ โดยพายุทั้งสองลูกข้ามเข้ามาในแอ่ง กลายเป็นพายุไต้ฝุ่นเอเลและพายุไต้ฝุ่นฮูโกตามลำดับ[6]

ฟิลิปปินส์

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[7] ชุดรายชื่อนี้มีกำหนดจะถูกนำมาใช้อีกครั้งในฤดูกาล ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549)[7] เนื่องจากเป็นชุดรายชื่อที่เริ่มใหม่ จึงไม่มีชื่อใดในรายการนี้ที่ถูกถอนเลย ส่วนชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2545
อากาโตน (Agaton) (0201) โฟลรีตา (Florita) (0205) กากา (Kaka) (0211) ปาโลมา (Paloma) (ไม่ถูกใช้) อุสมัน (Usman) (ไม่ถูกใช้)
บาชัง (Basyang) (0202) โกลเรีย (Gloria) (0206) ลากาลัก (Lagalag) (0212) กวาโดร (Quadro) (ไม่ถูกใช้) เบนุส (Venus) (ไม่ถูกใช้)
กาโลย (Caloy) ฮัมบาโลส (Hambalos) (0208) มิเลนโย (Milenyo) ราปีโด (Rapido) (ไม่ถูกใช้) วิซิก (Wisik) (ไม่ถูกใช้)
ดากูล (Dagul) อินได (Inday) (0207) เนเนง (Neneng) (ไม่ถูกใช้) ซีบาซิบ (Sibasib) (ไม่ถูกใช้) ยายัง (Yayang) (ไม่ถูกใช้)
เอสปาดา (Espada) (0204) จูอัน (Juan) โอมโปง (Ompong) (ไม่ถูกใช้) ตักบันวา (Tagbanwa) (ไม่ถูกใช้) เซนี (Zeny) (ไม่ถูกใช้)
รายชื่อเพิ่มเติม
อากีลา (Agila) (ไม่ถูกใช้) กีเรียโก (Ciriaco) (ไม่ถูกใช้) เอเลนา (Elena) (ไม่ถูกใช้) กุนดิง (Gunding) (ไม่ถูกใช้) อีโตย (Itoy) (ไม่ถูกใช้)
บากวิส (Bagwis) (ไม่ถูกใช้) ดีเยโก (Diego) (ไม่ถูกใช้) ฟอร์เต (Forte) (ไม่ถูกใช้) ฮุนยังโก (Hunyango) (ไม่ถูกใช้) เจสซา (Jessa) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ

ชื่อ ชาทาอาน (Chataan), รูซา (Rusa) และ พงซ็อนฮวา (Pongsona) ถูกถอนโดยคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และเลือกใช้ชื่อ แมตโม (Matmo), นูรี (Nuri) และ โนอึล (Noul) มาแทนชื่อดังกล่าวที่ถูกถอนไปข้างต้นตามลำดับ[8]

ผลกระทบ

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
ตาปะฮ์
(อากาโตน)
10 – 13 มกราคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 996 hPa (29.42 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [9]
TD 14 – 15 กุมภาพันธ์ พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ ไม่มี ไม่มี
มิแทก
(บาชัง)
27 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa (27.46 นิ้วปรอท) สหพันธรัฐไมโครนีเซีย, ปาเลา &0000000150000000000000150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 2 [10]
03W
(กาโลย)
21 – 23 มีนาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &00000000024000000000002.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 35 [11]
04W 6 – 8 เมษายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฮากีบิส 15 – 21 พฤษภาคม พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 935 hPa (27.61 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [12]
06W
(ดากูล)
26 – 30 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน ไม่มี ไม่มี [11]
TD 27 – 29 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 3 – 5 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว ไม่มี ไม่มี
โนกูรี
(เอสปาดา)
4 – 10 มิถุนายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, ไต้หวัน &00000000040000000000004 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [13]
รามสูร
(โฟลรีตา)
28 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) จีน, คาบสมุทรเกาหลี, หมู่เกาะรีวกีว, ไต้หวัน &0000000100000000000000100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 97 [6][14][15][16]
ชาทาอาน
(โกลเรีย)
28 มิถุนายน – 11 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa (27.46 นิ้วปรอท) ชุก, กวม, ญี่ปุ่น &0000000660000000000000660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 54 [17][18]
หะลอง
(อินได)
6 – 16 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) กวม, ฟิลิปปินส์, ญี่ปุ่น &000000008980000000000089.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 10 [19][20][21][22][23][24][25]
นากรี
(ฮัมบาโลส)
7 – 13 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 983 hPa (29.03 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี 2 [26]
เฟิงเฉิน 13 – 28 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, จีน &00000000040000000000004 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 5 [27][28][29]
13W
(จูอัน)
18 – 23 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000240000000000240 พันดอลลาร์สหรัฐ 14 [30][11]
ฟงวอง
(กากา)
18 – 27 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [31]
คัลแมกี 20 – 21 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1003 hPa (29.62 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
TD 25 – 26 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 29 – 30 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน ไม่มี ไม่มี
คัมมูริ
(ลากาลัก)
2 – 7 สิงหาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) จีน &0000000509000000000000509 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 153 [33][34]
17W 5 – 6 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
18W
(มิเลนโย)
11 – 14 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &00000000033000000000003.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 35 [30][11]
ฟานทอง 11 – 20 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [34]
ฟ้งหว่อง 15 – 20 สิงหาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) จีน &000000008600000000000086 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 9 [34][11][35]
รูซา 22 สิงหาคม - 1 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, เกาหลีเหนือ &00000042000000000000004.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 238 [36][37][38][39]
ซินลากู 27 สิงหาคม – 9 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, จีน &0000000723000000000000723 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 30 [34][38][40]
อีเล 30 สิงหาคม – 10 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
ฮากูปิต 9 – 15 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) จีน &000000003250000000000032.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 25 [41]
TD 18 – 19 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี ไม่มี
ชังมี 20 – 22 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
TD 21 – 22 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เมขลา 22 – 28 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) จีน &0000000102500000000000103 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [41]
ฮีโกส 26 กันยายน – 2 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa (27.47 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, ดินแดนปรีมอร์สกี &00000021400000000000002.14 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 12 [42][43]
บาหวี่ 8 – 13 ตุลาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
TD 12 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
27W 15 – 18 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
28W 18 – 19 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 23 – 24 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1010 hPa (29.83 นิ้วปรอท) ไต้หวัน ไม่มี ไม่มี
ไมสัก 26 – 30 ตุลาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
ฮูโก 3 – 7 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
ไห่เฉิน 20 – 24 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [32]
TD 27 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
พงซ็อนฮวา 2 – 11 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) กวม, หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา &0000000730000000000000730 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 1 [44][45]
สรุปฤดูกาล
44 ลูก 10 มกราคม – 11 ธันวาคม   185 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท)   >&00000095370000000000009.54 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 725


ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 "พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น" เป็นการจัดความรุนแรงอย่างไม่เป็นทางการโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ใช้เรียกพายุไต้ฝุ่นที่มีความเร็วลมรอบศูนย์กลางภายใน 1 นาทีอย่างน้อย 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.)[1]
  2. ความเสียหายทั้งหมดระบุไว้ในหน่วยดอลลาร์สหรัฐ เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น

อ้างอิง

  1. Frequently Asked Questions (Report). Joint Typhoon Warning Center. 2012-08-13. สืบค้นเมื่อ 2012-09-22.
  2. 2.0 2.1 Padgett, Gary. "Monthly Tropical Cyclone Summary December 1999". Australian Severe Weather. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 สิงหาคม 2555. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. 3.0 3.1 The Typhoon Committee (21 กุมภาพันธ์ 2556). "Typhoon Committee Operational Manual 2013". World Meteorological Organization. pp. 37–38. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 สิงหาคม 2555. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. http://www.typhooncommittee.org/48th/docs/item%204%20technical%20presentations/4.1.Review2015TyphoonSeason.pdf
  5. Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. 6.0 6.1 Joint Typhoon Warning Center. Annual Tropical Cyclone Report (PDF) (Report). United States Navy. สืบค้นเมื่อ 2012-07-25.
  7. 7.0 7.1 "Philippine Tropical Cyclone Names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. Typhoon Committee Operational Manual 2012 Edition (PDF) (Report). World Meteorological Organization. pp. 31–32. สืบค้นเมื่อ 2012-08-02.
  9. Climatology and Agrometeorology Branch (2006-11-11). "Tropical Cyclone Track: Tropical Storm Agaton". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-28. สืบค้นเมื่อ 2012-10-28. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ msd
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ pagasa
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ wild
  13. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nogur
  14. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ rampa
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ cna
  16. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ap75
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nncdc
  18. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ chat
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ agora.ex.nii.ac.jp
  20. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ sendai
  21. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ http
  22. Weather Disaster Report (2002-616-14) (Report). Digital Typhoon. สืบค้นเมื่อ 2012-10-09.
  23. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ agora_b
  24. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ agora_c
  25. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ agora
  26. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ afp710
  27. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ afp826
  28. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ fendt
  29. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ fengy
  30. 30.0 30.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ julgp
  31. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ drfw
  32. 32.0 32.1 32.2 32.3 32.4 32.5 32.6 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ jma
  33. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ifrc93
  34. 34.0 34.1 34.2 34.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ agp
  35. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ cliffisawesome
  36. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ TyphoonRusa2002
  37. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Rusa batters South Korea
  38. 38.0 38.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ guy
  39. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ifrc04
  40. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ sind
  41. 41.0 41.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ sgp
  42. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ hdt
  43. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ krai
  44. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ assess
  45. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ dncdc

แหล่งข้อมูลอื่น