ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรอเฟเดช็องปียง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nposas (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nposas (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 451: บรรทัด 451:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


==แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.lfp.fr/tropheeChampions/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
*[http://www.lfp.fr/tropheeChampions/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:41, 29 ธันวาคม 2562

ทรอเฟเดช็องปียง
logo
ก่อตั้ง1995
ภูมิภาค ฝรั่งเศส
โมนาโก โมนาโก
จำนวนทีม2
ทีมชนะเลิศปัจจุบันปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (9 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (9 สมัย)
ทรอเฟเดช็องปียง 2019

ทรอเฟเดช็องปียง (ฝรั่งเศส: Trophée des Champions) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยในประเทศฝรั่งเศสระหว่างทีมชนะเลิศลีกเอิงกับทีมชนะเลิศกุปเดอฟร็องส์ในฤดูกาลล่าสุด เริ่มแข่งขันโดยใช้ชื่อนี้ตั้งแต่ ค.ศ. 1995

การแข่งขันชิงชนะเลิศ

ฤดูกาล[1] ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม ผู้ชมสนาม บันทึก
Champions of France vs. Coupe de France winners (1949, ไม่เป็นทางการ)
1949 แร็งส์ 4–3 แอร์เซ ปารีส ฝรั่งเศส สนามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์, ปารีส
ชาแลนเดช็องปียง (1955–73, 1985–86)
1955 แร็งส์ 7–1 ลีล ฝรั่งเศส สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
1956 เซอด็อง 1–0 นิส ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
1957 แซ็งเตเตียน 2–1 ตูลูซ ฝรั่งเศส สตาดียอมมูว์นีซีปาล, ตูลูซ
1958 แร็งส์ 2–1 นีมส์ ฝรั่งเศส สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
1959 เลอ อาฟวร์ 2–0 นิส ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
1960 แร็งส์ 6–2 มอนาโก ฝรั่งเศส Stade Marcel Saupin, น็องต์
1961 มอนาโก 1–1[nb 1] เซอด็อง ฝรั่งเศส สตาดเวลอดรอม, มาร์แซย์
1962 แซ็งเตเตียน 4–2 แร็งส์ ฝรั่งเศส Stade Municipal de Beaublanc, ลิโมช
1965 น็องต์ 3–2 แรน ฝรั่งเศส Stade du Moustoir, โลเรียนท์
1966 แร็งส์ 2–0 น็องต์ ฝรั่งเศส Stade Marcel Saupin, น็องต์
1967 แซ็งเตเตียน 3–0 ลียง ฝรั่งเศส สตาดฌอฟรัว-กีชาร์, แซ็งเตเตียน
1968 แซ็งเตเตียน 5–3 บอร์โด ฝรั่งเศส Stade Richter, มงเปอลีเย
1969 แซ็งเตเตียน 3–2 มาร์แซย์ ฝรั่งเศส ปาร์กเดแพร็งส์, ปารีส
1970 นิส 2–0 แซ็งเตเตียน ฝรั่งเศส Stade du Ray, นิส
1971 แรนและมาร์แซย์ 2–2[nb 2] ผู้ชนะ 2 ทีม ฝรั่งเศส Stade de l'Armoricaine, แบร็สต์
1972 บาสเตีย 5–2 มาร์แซย์ ฝรั่งเศส Stade de Bon Rencontre, ตูลง
1973 ลียง 2–0 น็องต์ ฝรั่งเศส Stade de l'Armoricaine, แบร็สต์
1985 มอนาโก 1–1 (5–4 pen.) บอร์โด ฝรั่งเศส Parc Lescure, บอร์โด
1986 บอร์โด 1–0 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส Stade Guadeloupe, Les Abymes, กัวเดอลุป
ทรอเฟเดช็องปียง (1995–ปัจจุบัน)
1995[nb 3] ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–2 (6–5 pen.) น็องต์ ฝรั่งเศส สตาด ฟร็องซิส-เลอ แบล, แบร็สต์ 12,000
1996 ไม่มีการแข่งขันเนื่องจากโอแซร์เป็นผู้ชนะทั้ง 2 ถ้วย
1997 มอนาโก 5–2 นิส ฝรั่งเศส Stade de la Méditerranée, เบซิเอร์ 4,000
1998 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1–0 ล็องส์ ฝรั่งเศส สตาดเดอลาวัลเลแอดูแชร์, ตูร์ 12,766
1999 น็องต์ 1–0 บอร์โด ฝรั่งเศส สตาด เดอ ลา ลิกอร์แน, อาเมียง 11,858
2000 มอนาโก 0–0 (6–5 pen.) น็องต์ ฝรั่งเศส สตาด ออกุสต์ บอนัล, มงเบลียาร์ 9,918
2001 น็องต์ 4–1 สทราชบูร์ ฝรั่งเศส สตาดเดอลาเมอินาอู, สทราซบูร์ 7,227
2002 ลียง 5–1 ลอรียองต์ ฝรั่งเศส Stade Pierre-de-Coubertin, กาน 5,041
2003 ลียง 2–1 โอแซร์ ฝรั่งเศส สตาดเดอแฌร์ล็อง, ลียง 18,254
2004 ลียง 1–1 (7–6 pen.) ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส Stade Pierre-de-Coubertin, กาน 9,429
2005 ลียง 4–1 โอแซร์ ฝรั่งเศส สตาดเดอลับแบ-แดส์ช็องส์, โอแซร์ 10,967
2006 ลียง 1–1 (5–4 pen.) ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส สตาดเดอแฌร์ล็อง, ลียง 30,529
2007 ลียง 2–1 ซอโช-มงเบลียาร์ ฝรั่งเศส สตาดเดอแฌร์ล็อง, ลียง 30,413
2008 บอร์โด 0–0 (5–4 pen.) ลียง ฝรั่งเศส Stade Chaban-Delmas, บอร์โด 27,167
2009 บอร์โด 2–0 แก็งก็อง แคนาดา สนามกีฬาโอลิมปิก, มอนทรีออล, แคนาดา 34,068
2010 มาร์แซย์ 0–0 (5–4 pen.) ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ตูนิเซีย Stade Olympique de Radès, ตูนิส, ตูนิเซีย 57,000
2011 มาร์แซย์ 5–4 ลีล โมร็อกโก Stade de Tanger, แทนเจียร์, โมร็อคโค 33,900
2012 ลียง 2–2 (4–2 pen.) มงเปอลีเย สหรัฐ เรดบูลส์ อารีนา, แฮร์ริสัน, สหรัฐอเมริกา 15,166
2013 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 บอร์โด กาบอง สตาด ด็องกงด์เช่, ลีเบรอวีล, กาบอง 34,658
2014 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–0 แก็งก็อง จีน เวิร์กเกอร์สเตเดียม, ปักกิ่ง, จีน 39,752
2015 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–0 ลียง แคนาดา สตาดซาปูโต, มอนทรีออล, แคนาดา 20,057
2016 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–1 ลียง ออสเตรีย Wörthersee Stadion, คลาเกินฟวร์ท, ออสเตรีย 10,120
2017 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 มอนาโก โมร็อกโก Stade de Tanger, แทนเจียร์, โมร็อกโก 43,761
2018 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–0 มอนาโก จีน ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยโลกเซินเจิ้น, เซินเจิ้น, จีน 41,237
2019 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 แรน จีน ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยโลกเซินเจิ้น, เซินเจิ้น, จีน 22,045

ทำเนียบผู้ชนะเลิศในแต่ละสโมสร

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะ ปีที่แพ้
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 9 4 1995, 1998, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019 1986, 2004, 2006, 2010
ลียง 8 4 1973, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2012 1967, 2008, 2015, 2016
แซ็งเตเตียน 5 1 1957, 1962, 1967, 1968, 1969 1970
มอนาโก 4 3 1961, 1985, 1997, 2000 1960, 2017, 2018
แร็งส์ 4 1 1955, 1958, 1960, 1966 1962
น็องต์ 3 4 1965, 1999, 2001 1966, 1973, 1995, 2000
บอร์โด 3 4 1986, 2008, 2009 1968, 1986, 1999, 2013
มาร์แซย์ 3 2 1971, 2010, 2011 1969, 1972
นิส 1 3 1970 1956, 1959, 1997
แรน 1 2 1971 1965, 2019
เซอด็อง 1 1 1956 1961
เลออาฟวร์ 1 0 1959
บาสเตีย 1 0 1972
ลีล 0 2 1955, 2011
โอแซร์ 0 2 2003, 2005
แก็งก็อง 0 2 2009, 2014
ตูลูซ 0 1 1957
นีมส์ 0 1 1958
ล็องส์ 0 1 1998
สทราชบูร์ 0 1 2001
ลอรีย็อง 0 1 2002
ซอโช-มงเบลียาร์ 0 1 2007
มงเปอลีเย 0 1 2012

หมายเหตุ

  1. มอนาโก ชนะการแข่งขันโดยการจับสลาก โดยไม่มีการยิงจุดโทษตัดสิน
  2. เป็นผู้ชนะทั้งสองทีมเนื่องจากเสมอกัน
  3. การแข่งขันเกิดขึ้นในวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1996.

อ้างอิง

  1. "Palmares". Ligue de Football Professionnel. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น