ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี"

พิกัด: 17°23′11″N 102°47′18″E / 17.38639°N 102.78833°E / 17.38639; 102.78833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Taewonder (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
'''ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี''' หรือ สนามบินอุดรธานี ({{lang-en|Udon Thani International Airport}}) ตั้งอยู่ในตัวเมืองของ ตำบลหมากแข้ง [[อำเภอเมืองอุดรธานี]] [[จังหวัดอุดรธานี]] ตัวสนามบินตั้งอยู่ในเขตทหารกองทัพอากาศ ([[กองบิน 23]]) ท่าอากาศยานอุดรธานีเป็นท่าอากาศยานในสังกัด[[กรมท่าอากาศยาน]] [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] ท่าอากาศยานอุดรธานีได้รับการปรับปรุงและสร้างอาคารผู้โดยสารเพิ่มขึ้นอีกและเชื่อมต่อกับตัวอาคารเดิมโดยได้รับงบประมาณจากรัฐบาลในการปรับปรุง สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2549 ตัวจังหวัดอยู่ห่างจาก [[กรุงเทพมหานคร]] 564 กิโลเมตร
'''ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี''' หรือ สนามบินอุดรธานี ({{lang-en|Udon Thani International Airport}}) ตั้งอยู่ในตัวเมืองของ ตำบลหมากแข้ง [[อำเภอเมืองอุดรธานี]] [[จังหวัดอุดรธานี]] ตัวสนามบินตั้งอยู่ในเขตทหารกองทัพอากาศ ([[กองบิน 23]]) ท่าอากาศยานอุดรธานีเป็นท่าอากาศยานในสังกัด[[กรมท่าอากาศยาน]] [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] ท่าอากาศยานอุดรธานีได้รับการปรับปรุงและสร้างอาคารผู้โดยสารเพิ่มขึ้นอีกและเชื่อมต่อกับตัวอาคารเดิมโดยได้รับงบประมาณจากรัฐบาลในการปรับปรุง สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2549 ตัวจังหวัดอยู่ห่างจาก [[กรุงเทพมหานคร]] 564 กิโลเมตร


สนามบินอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการบินของภาคอีสาน เนื่องจากเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจชายแดนของอีสานตอนบน ตั้งอยู่ใกล้เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่าง จ.หนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เพียง 50 กิโลเมตร ท่าอากาศยานอุดรธานี จึงเป็นส่วนสำคัญของยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน โดยในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากกว่า 2.5 ล้านคน <ref>http://www.posttoday.com/%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94/AEC/372826/%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%AF%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A1-%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99</ref>
สนามบินอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการบินของภาคอีสานตอนบน ตั้งอยู่ใกล้เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่าง จ.หนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เพียง 50 กิโลเมตร ท่าอากาศยานอุดรธานี จึงเป็นส่วนสำคัญของยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน โดยในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากกว่า 2.5 ล้านคน <ref>http://www.posttoday.com/%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94/AEC/372826/%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%AF%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A1-%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99</ref>


เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กรมท่าอากาศยานได้ประกาศแผนการมอบสิทธิ์การบริหารท่าอากาศยานอุดรธานีให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เช่นเดียวกับท่าอากาศยานตาก (ภายหลังได้เพิ่มท่าอากาศยานชุมพรและท่าอากาศยานสกลนคร เข้ามาด้วย) โดยจะนำเสนอให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาเห็นชอบ แต่กระทรวงคมนาคมยังไม่อนุมัติในทันที โดยให้สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) รวบรวมข้อมูลจากทั้งของกรมท่าอากาศยาน, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ไปศึกษาวิเคราะห์ถึงผลดีและผลเสียก่อน
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กรมท่าอากาศยานได้ประกาศแผนการมอบสิทธิ์การบริหารท่าอากาศยานอุดรธานีให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เช่นเดียวกับท่าอากาศยานตาก (ภายหลังได้เพิ่มท่าอากาศยานชุมพรและท่าอากาศยานสกลนคร เข้ามาด้วย) โดยจะนำเสนอให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาเห็นชอบ แต่กระทรวงคมนาคมยังไม่อนุมัติในทันที โดยให้สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) รวบรวมข้อมูลจากทั้งของกรมท่าอากาศยาน, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ไปศึกษาวิเคราะห์ถึงผลดีและผลเสียก่อน
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
อย่างไรก็ตามภายหลังจากที่มีรัฐบาลชุดใหม่ในปี พ.ศ. 2562 กรมท่าอากาศยาน และกระทรวงคมนาคมซึ่งมีนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ได้เปลี่ยนแปลงแผนการ โดยจะให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เข้าบริหารท่าอากาศยานอุดรธานี (กับท่าอากาศยานตากและท่าอากาศยานบุรีรัมย์) ในลักษณะการบริหารสัญญาร่วม หรือการจ้าง บมจ. ท่าอากาศยานไทย บริหารจัดการ โดยไม่ต้องมีการประมูล และกรมท่าอากาศยานยังคงความเป็นเจ้าของท่าอากาศยานอุดรธานี<ref>{{cite web|url=https://www.thansettakij.com/content/409033|title= เบื้องลึกเด้งอธิบดีทย. เซ่นการเมืองขวางทอท.ฮุบสนามบิน|work=ฐานเศรษฐกิจ|date=8 กันยายน 2562|accessdate=26 กันยายน 2562|}}</ref>
อย่างไรก็ตามภายหลังจากที่มีรัฐบาลชุดใหม่ในปี พ.ศ. 2562 กรมท่าอากาศยาน และกระทรวงคมนาคมซึ่งมีนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ได้เปลี่ยนแปลงแผนการ โดยจะให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เข้าบริหารท่าอากาศยานอุดรธานี (กับท่าอากาศยานตากและท่าอากาศยานบุรีรัมย์) ในลักษณะการบริหารสัญญาร่วม หรือการจ้าง บมจ. ท่าอากาศยานไทย บริหารจัดการ โดยไม่ต้องมีการประมูล และกรมท่าอากาศยานยังคงความเป็นเจ้าของท่าอากาศยานอุดรธานี<ref>{{cite web|url=https://www.thansettakij.com/content/409033|title= เบื้องลึกเด้งอธิบดีทย. เซ่นการเมืองขวางทอท.ฮุบสนามบิน|work=ฐานเศรษฐกิจ|date=8 กันยายน 2562|accessdate=26 กันยายน 2562|}}</ref>


<br />
ในอนาคตภายหลังการเข้าบริหาร ทอท.จะผลักดันให้ท่าอากาศยานอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการบินของภาคอีสาน เพราะปัจจุบันมีความต้องการในการเดินทางมาก โดยเฉพาะเที่ยวบินตรงจากประเทศในแถบยุโรปกำลังเติบโตสูงมาก ในอนาคตมีโอกาสที่จะเปิดบินตรงยุโรป-อุดรธานี <ref>https://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01eco01220461&sectionid=0103&day=2018-04-22</ref>


== รายชื่อสายการบิน ==
== รายชื่อสายการบิน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:54, 24 ธันวาคม 2562

ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี

Udon Thani International Airport
ไฟล์:Udon Thani International Airport.jpg
  • IATA: UTH
  • ICAO: VTUD
    UTHตั้งอยู่ในประเทศไทย
    UTH
    UTH
    Location of airport in Thailand
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ/ทหาร
เจ้าของกรมท่าอากาศยาน
ผู้ดำเนินงานรัฐบาล/เอกชน
พื้นที่บริการจังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองบัวลำภู
สถานที่ตั้งกองบิน 23 ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
ฐานการบินนกแอร์
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล176 เมตร / 579 ฟุต
พิกัด17°23′11″N 102°47′18″E / 17.38639°N 102.78833°E / 17.38639; 102.78833
เว็บไซต์http://www.udonthaniairport.com/
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
12/30 3,050 10,007 ยางมะตอย
สถิติ (2561)
ผู้โดยสาร2,651,242 +2.8%
เที่ยวบิน18,855

ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี หรือ สนามบินอุดรธานี (อังกฤษ: Udon Thani International Airport) ตั้งอยู่ในตัวเมืองของ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ตัวสนามบินตั้งอยู่ในเขตทหารกองทัพอากาศ (กองบิน 23) ท่าอากาศยานอุดรธานีเป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม ท่าอากาศยานอุดรธานีได้รับการปรับปรุงและสร้างอาคารผู้โดยสารเพิ่มขึ้นอีกและเชื่อมต่อกับตัวอาคารเดิมโดยได้รับงบประมาณจากรัฐบาลในการปรับปรุง สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2549 ตัวจังหวัดอยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานคร 564 กิโลเมตร

สนามบินอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการบินของภาคอีสานตอนบน ตั้งอยู่ใกล้เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่าง จ.หนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เพียง 50 กิโลเมตร ท่าอากาศยานอุดรธานี จึงเป็นส่วนสำคัญของยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน โดยในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากกว่า 2.5 ล้านคน [4]

เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กรมท่าอากาศยานได้ประกาศแผนการมอบสิทธิ์การบริหารท่าอากาศยานอุดรธานีให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เช่นเดียวกับท่าอากาศยานตาก (ภายหลังได้เพิ่มท่าอากาศยานชุมพรและท่าอากาศยานสกลนคร เข้ามาด้วย) โดยจะนำเสนอให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาเห็นชอบ แต่กระทรวงคมนาคมยังไม่อนุมัติในทันที โดยให้สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) รวบรวมข้อมูลจากทั้งของกรมท่าอากาศยาน, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ไปศึกษาวิเคราะห์ถึงผลดีและผลเสียก่อน

ในวันที่ 25 เมษายน 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) บมจ. ท่าอากาศยานไทย มีมติเห็นชอบรับโอนท่าอากาศยานอุดรธานี และท่าอากาศยานอีก 3 แห่ง ดังกล่าว จากกรมท่าอากาศยานมาบริหาร เพื่อรองรับการเติบโตของนักท่องเที่ยวในระยะยาว คาดจะใช้งบลงทุนกว่า 1 หมื่นล้านบาท และกรมท่าอากาศยานได้รวบรวมข้อมูลและเสนอเรื่องไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมแล้วในเดือนมิถุนายนปีเดียวกัน[10] เพื่อที่จะได้เสนอต่อไปยังคณะรัฐมนตรีต่อไป คาดว่าจะดำเนินการได้เรียบร้อยและ ทอท. เข้าบริหารสนามบินทั้ง 4 แห่งได้ ภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 ในส่วนของแผนการบริหารท่าอากาศยานอุดรธานี โดย ทอท. จะลงทุนโดยแบ่งเป็นงานวิศวะก่อสร้างเชิงกายภาพ งานจ้างบุคลากรและจัดซื้ออุปกรณ์ความปลอดภัยให้ได้มาตรฐานทางการบินสากล เช่น CAT8 และ CAT9 ใช้เงินลงทุน 4,000-5,000 ล้านบาท เพื่อขยายอาคารที่พักผู้โดยสารมีเป้าหมายเคลื่อนย้ายเที่ยวบินยุโรป-ภาคอีสาน ยังท่าอากาศยานอุดรธานีเพื่อส่งเสริมการเพมสล็อตเที่ยวบินของท่าอากาศยานหลักอย่างดอนเมืองและสุวรรณภูมิ ซึ่งคาดว่าส่งผลให้รายได้ของ ทอท. เพิ่มขึ้นอย่างมากจากการขยายสล็อตได้มากกว่า 1,000 เที่ยวบิน หลังเปิดบริการท่าอากาศยานอุดรธานี[5]

อย่างไรก็ตามภายหลังจากที่มีรัฐบาลชุดใหม่ในปี พ.ศ. 2562 กรมท่าอากาศยาน และกระทรวงคมนาคมซึ่งมีนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ได้เปลี่ยนแปลงแผนการ โดยจะให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เข้าบริหารท่าอากาศยานอุดรธานี (กับท่าอากาศยานตากและท่าอากาศยานบุรีรัมย์) ในลักษณะการบริหารสัญญาร่วม หรือการจ้าง บมจ. ท่าอากาศยานไทย บริหารจัดการ โดยไม่ต้องมีการประมูล และกรมท่าอากาศยานยังคงความเป็นเจ้าของท่าอากาศยานอุดรธานี[6]


รายชื่อสายการบิน

Udon Thani Airport
สายการบิน จุดหมายปลายทาง หมายเหตุ
การบินไทยสมายล์ กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ ภายในประเทศ
ไทยเวียดเจ็ทแอร์ กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ

เชียงราย

ภายในประเทศ
นกแอร์ กรุงเทพฯ-ดอนเมือง, เชียงใหม่ ภายในประเทศ
ไทยแอร์เอเชีย กรุงเทพฯ-ดอนเมือง, ภูเก็ต, อู่ตะเภา ภายในประเทศ
ไทยไลอ้อนแอร์ กรุงเทพฯ-ดอนเมือง, หาดใหญ่, ภายในประเทศ

อาคารผู้โดยสาร A (Domestic Terminal)

ตรวจบัตรโดยสาร ประตู 1

  • สายการบินไทยสมายล์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) GATE 1-2-3
  • สายการบินนกแอร์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานดอนเมือง, เชียงใหม่) GATE 1-2-3
  • สายการบินไทยเวียตเจ็ทแอร์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) GATE 1-2-3
  • สายการบินไทยเวียตเจ็ทแอร์ (ท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวงเชียงราย) GATE 1-2-3

อาคารผู้โดยสาร B (Domestic-CIQ-International Termainal)

ตรวจบัตรโดยสาร ประตู 6

  • สายการบินไทยแอร์เอเชีย (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานดอนเมือง, ภูเก็ต, ระยอง-ท่าอากาศยานอู่ตะเภา) GATE 4-5
  • สายการบินไทยไลอ้อนแอร์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานดอนเมือง, สงขลา-ท่าอากาศยานหาดใหญ่) GATE 4-5

ข้อมูลศักยภาพของท่าอากาศยาน

  • พื้นที่อากาศยาน จำนวน 2,000 ไร่
  • ความยาวของทางวิ่ง 45x3,048 เมตร
  • ลาดจอดท่าอากาศยาน 135x600 เมตร รองรับ B737 ได้ จำนวน 11 ล่ำ
  • รองรับผู้โดยสารได้ จำนวน 1,200 คน ต่อ ชั่วโมง หรือ 3.46 ล้านคนต่อปี
  • อาคารที่พักผู้โดยสาร 19,200 ตารางเมตร
  • จำนวนที่จอดรถยนต์ 665 คัน
  • บริการรถเช่า

° pucarrent ปูคาเร้นท์ โทร 0802600108 https://www.facebook.com/udonmanapucarrent/ - บริษัทรถ สนามบินอุดร โทร 0885385747 https://www.facebook.com/udoncarrent4488/ - บริษัทรถ อุดร-หนองคาย โทร 0802600108 https://www.facebook.com/Udonpucarrent/

ที่มา: กรมท่าอากาศยาน[7]

สถิติ

ข้อมูลจำนวนผู้โดยสารในแต่ละปีปฏิทิน
ปี (ค.ศ.) ผู้ใช้บริการ (คน)
2000
379,766
2001
373,508
2002
355,965
2003
357,309
2004
613,740
2005
672,355
2006
674,585
2007
694,164
2008
660,361
2009
722,587
2010
816,602
2011
1,011,881
2012
1,184,449
2013
1,325,302
2014
1,682,709
2015
2,213,689
2016
2,337,252
2017
2,576,762
2018
2,651,242
ที่มา: สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย[8]

สายการบินที่เคยทำการบิน

สายการบิน จุดหมายปลายทาง[9] หมายเหตุ
ชื่อไทย ชื่ออังกฤษ
การบินไทย (TG) Thai Airways International กรุงเทพมหานคร-ดอนเมือง, กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ ภายในประเทศ
ไทยแอร์เอเชีย (FD) Thai AirAsia เชียงใหม่ ภายในประเทศ
ไทเกอร์แอร์เวย์ (TR) Tiger Air สิงคโปร์ ์ ระหว่างประเทศ
การบินลาว (QV) Lao Airlines หลวงพระบาง ระหว่างประเทศ
เดินอากาศไทย (TH) Thai Airways กรุงเทพมหานคร-ดอนเมือง ภายในประเทศ
นกแอร์ (DD) Nok Air เลย, อุบลราชธานี ภายในประเทศ
บางกอกแอร์เวย์ (PG) Bangkok Airways กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, เชียงใหม่ ภายในประเทศ
พีบีแอร์ (9Q) PB Air กรุงเทพมหานคร-ดอนเมือง, เชียงใหม่ ภายในประเทศ
ภูเก็ตแอร์ (9R) Phuket Air กรุงเทพมหานคร-ดอนเมือง, เชียงใหม่ ภายในประเทศ
วัน-ทู-โก (OG) One-Two-Go กรุงเทพมหานคร-ดอนเมือง ภายในประเทศ
แองเจิลแอร์ไลน์ (8G) Angel Airlines เชียงใหม่ ภายในประเทศ
โอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์ (OX) Orient Thai Airlines กรุงเทพมหานคร-ดอนเมือง ภายในประเทศ
นกมินิ (5E) Nok Mini เชียงใหม่ ภายในประเทศ

ขนส่งอากาศยาน

สายการบิน
ชื่อไทย ชื่ออังกฤษ
เคไมล์แอร์ (8K) K-Mile Air

อ้างอิง

  1. Airport information for VTCN at World Aero Data. Data current as of October 2006.. Source: DAFIF.
  2. Airport information for NNT at Great Circle Mapper. Source: DAFIF (effective Oct. 2006).
  3. http://www.aviation.go.th
  4. http://www.posttoday.com/%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94/AEC/372826/%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%AF%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A1-%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99
  5. https://www.posttoday.com/economy/556549f
  6. "เบื้องลึกเด้งอธิบดีทย. เซ่นการเมืองขวางทอท.ฮุบสนามบิน". ฐานเศรษฐกิจ. 8 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 26 กันยายน 2562. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. Department of Airports. [1] (ไทย)
  8. The Civil Aviation Authourity of Thailand. [2] (ไทย)
  9. http://www.flightstats.com/go/FlightStatus/flightStatusByAirport.do