ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้องกัน "พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี" แล้ว: การก่อกวนจำนวนมาก ([แก้ไข=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (หมดอายุ 02:37, 15 มีนาคม 2563 (UTC)) [ย้าย=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (หมดอายุ 02:37, 15 มีนาคม 2563 (UTC)))
ย้อนการแก้ไขที่ 8630145 สร้างโดย 42.115.19.126 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
|death_date =
|death_date =
|death_place =
|death_place =
|religion = [[เถรวาท|ศาสนาพุทธ]]
|religion = [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]]
| module = {{Infobox person|child=yes
| module = {{Infobox person|child=yes
|website = http://norodomsihamoni.org/en }}
|website = http://norodomsihamoni.org/en }}
บรรทัด 29: บรรทัด 29:


==พระราชประวัติ==
==พระราชประวัติ==
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 12 ใน[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] อันประสูติแต่[[สมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา|สมเด็จพระอัคคมเหสีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ]] (พระนามเดิม ปอล โมนีก อิซซี) ซึ่งมีเชื้อสายฝรั่งเศส คอร์ซิกัน และอิตาลี<ref>[http://info.club-corsica.com/index.php?art=53soc002 Vive la Reine Monique!]</ref><ref>[http://www.cambodia.gov.kh/unisql1/egov/english/king.biography.html King's biography]</ref> มีพระภราดาพระภคินีร่วมพระราชบิดา 14 พระองค์ ร่วมพระราชมารดาหนึ่งพระองค์คือ[[สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์]] (พ.ศ. 2497–2546)<ref>[http://www.norodomsihanouk.info/new/index.php?page=biography.php&bioID=5&bioPage=biography/frn/Narindrapong.php&menuID=1 Biographie de Sar Samdech Norodom Narindrapong]</ref>
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 12 ใน[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] ประสูติแต่[[สมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา|สมเด็จพระอัคคมเหสีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ]] (พระนามเดิม ปอล โมนีก อิซซี) ซึ่งมีเชื้อสายฝรั่งเศส คอร์ซิกัน และอิตาลี<ref>[http://info.club-corsica.com/index.php?art=53soc002 Vive la Reine Monique!]</ref><ref>[http://www.cambodia.gov.kh/unisql1/egov/english/king.biography.html King's biography]</ref> มีพระภราดาพระภคินีร่วมพระราชบิดา 14 พระองค์ ร่วมพระราชมารดาหนึ่งพระองค์คือ[[สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์]] (พ.ศ. 2497–2546)<ref>[http://www.norodomsihanouk.info/new/index.php?page=biography.php&bioID=5&bioPage=biography/frn/Narindrapong.php&menuID=1 Biographie de Sar Samdech Norodom Narindrapong]</ref>


นอกจากนี้ เมื่อนับพระญาติทางฝ่ายพระบิดานั้น พระองค์นับเป็นพระญาติชั้นที่ 3 ของ[[พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี]] และเป็นพระญาติชั้นที่ 4 ของ[[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] พระวรราชเทวีและพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ของสยาม<ref>[http://www.soravij.com/bejaratana.html Princess Bejaratana]</ref>
นอกจากนี้ เมื่อนับพระญาติทางฝ่ายพระราชบิดา พระองค์นับเป็นพระญาติชั้นที่ 3 ของ[[พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี]] และเป็นพระญาติชั้นที่ 4 ของ[[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]]<ref>[http://www.soravij.com/bejaratana.html Princess Bejaratana]</ref>


== การศึกษา ==
== การศึกษา ==
ทรงได้รับการศึกษาขึ้นต้นใน[[ประเทศกัมพูชา]] ต่อมา เสด็จไปทรงศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาที่[[ประเทศเช็กเกีย]] และทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่ Musical Art Academy of Prague โดยทรงทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง The Conception and Administration of Artisic Schools in Cambodia ทรงสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2518 และยังได้เสด็จไปทรงศึกษาต่อที่ University Studies of Cinematography ที่[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี]]ระหว่าง พ.ศ. 2518–2519
ทรงได้รับการศึกษาขึ้นต้นใน[[ประเทศกัมพูชา]]ต่อมา เสด็จไปทรงศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาที่[[ประเทศเช็กเกีย]] และทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่ Musical Art Academy of Prague โดยทรงทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง The Conception and Administration of Artisic Schools in Cambodia ทรงสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2518 และยังได้เสด็จไปทรงศึกษาต่อที่ University Studies of Cinematography ที่[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี]]ระหว่าง พ.ศ. 2518–2519


== พระราชกรณียกิจก่อนขึ้นครองราชย์ ==
== พระราชกรณียกิจก่อนขึ้นครองราชย์ ==
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
การที่ได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว นาย Chuch Phoeurn รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ให้สัมภาษณ์ว่า การเลทอกสัญลักษณ์ทั้ง 7 อย่างเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติกัมพูชานั้นเพื่อจะทำให้สามารถอนุรักษ์พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ของกัมพูชาไม่ให้สูญพันธุ์ อย่างไรก็ตามสัญลักษณ์ทั้ง 7 อย่างที่ถูกเลือกเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติ ได้ถูกสอนในโรงเรียนทั่วกัมพูชาในชั้นเรียนวิชาภูมิศาสตร์
การที่ได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว นาย Chuch Phoeurn รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ให้สัมภาษณ์ว่า การเลทอกสัญลักษณ์ทั้ง 7 อย่างเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติกัมพูชานั้นเพื่อจะทำให้สามารถอนุรักษ์พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ของกัมพูชาไม่ให้สูญพันธุ์ อย่างไรก็ตามสัญลักษณ์ทั้ง 7 อย่างที่ถูกเลือกเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติ ได้ถูกสอนในโรงเรียนทั่วกัมพูชาในชั้นเรียนวิชาภูมิศาสตร์


== พระบรมราชอิสริยยศและพระเกียรติยศ ==
== พระราชอิสริยยศและพระเกียรติยศ ==
{{กล่องข้อมูล พระยศ
{{กล่องข้อมูล พระยศ
|พระนาม = <small>พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี </small>
|พระนาม = <small>พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี </small>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:39, 15 ธันวาคม 2562

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ
นโรดม สีหมุนี
พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี
ครองราชย์14 ตุลาคม พ.ศ. 2547 – ปัจจุบัน
ราชาภิเษก29 ตุลาคม พ.ศ. 2547
ก่อนหน้าพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
นายกรัฐมนตรีฮุน เซน
พระราชสมภพ14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (70 พรรษา)
พนมเปญ กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส
พระนามเต็ม
พระกรุณา พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี สมานภูมิชาติศาสนา รักขตขัตติยา เขมรารัฐราษฎร์ พุทธินทราธรามหากษัตริย์ เขมราชนา สมูโหภาส กัมพุชเอกราชรัฐบูรณสันติ ศุภมังคลา สิรีวิบุลา เขมราศรีพิราษฎร์ พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี
ราชวงศ์ราชวงศ์วรมัน สายราชสกุลนโรดม
พระราชบิดาพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
พระราชมารดาสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ
ศาสนาพุทธเถรวาท
เว็บไซต์http://norodomsihamoni.org/en
พระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชายุคใหม่
สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี
พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร
พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์
พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (ครั้งที่ 1)
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (ครั้งที่ 2)
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี ([ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ); ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี;[1] 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ[2] อดีตเอกอัครราชทูตด้านวัฒนธรรมของกัมพูชาประจำองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ก่อนที่กรมปรึกษาราชบัลลังก์ลงมติเอกฉันท์ให้พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์หลังจากพระราชบิดาประกาศสละราชสมบัติเมื่อปี พ.ศ. 2547

พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 12 ในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ประสูติแต่สมเด็จพระอัคคมเหสีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ (พระนามเดิม ปอล โมนีก อิซซี) ซึ่งมีเชื้อสายฝรั่งเศส คอร์ซิกัน และอิตาลี[3][4] มีพระภราดาพระภคินีร่วมพระราชบิดา 14 พระองค์ ร่วมพระราชมารดาหนึ่งพระองค์คือสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ (พ.ศ. 2497–2546)[5]

นอกจากนี้ เมื่อนับพระญาติทางฝ่ายพระราชบิดา พระองค์นับเป็นพระญาติชั้นที่ 3 ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และเป็นพระญาติชั้นที่ 4 ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี[6]

การศึกษา

ทรงได้รับการศึกษาขึ้นต้นในประเทศกัมพูชาต่อมา เสด็จไปทรงศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาที่ประเทศเช็กเกีย และทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่ Musical Art Academy of Prague โดยทรงทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง The Conception and Administration of Artisic Schools in Cambodia ทรงสำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2518 และยังได้เสด็จไปทรงศึกษาต่อที่ University Studies of Cinematography ที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีระหว่าง พ.ศ. 2518–2519

พระราชกรณียกิจก่อนขึ้นครองราชย์

  • พ.ศ. 2522-2523 ราชเลขานุการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
  • พ.ศ. 2527-2531 ประธาน The Khmer Dance Association ในประเทศฝรั่งเศส; ผู้จัดการทั่วไปและผู้กำกับศิลป์ของ The Ballet Group "Deva"
  • พ.ศ. 2531-2536 ผู้จัดการทั่วไปและผู้กำกับศิลป์ของ The Royal Khmer Cinematographic Corporation "Khemara Picture"
  • พ.ศ. 2535-2536 ทรงได้รับเลือกจาก The Supreme National Council ให้เป็นผู้แทนถาวรแห่งกัมพูชาประจำสหประชาชาติ (United Nation)
  • พ.ศ. 2536-2547 ทรงดำรงตำแหน่งทูตแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาประจำองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
  • พ.ศ. 2546 ทรงได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
  • พ.ศ. 2547 ทรงเป็นสมาชิกแห่ง The High Council of French-Speaking Countries (La Francophonie)

เสด็จขึ้นครองราชย์

เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมพรรษา 51 พรรษา เมื่อเดือนตุลาคม 2547 โดยมติเป็นเอกฉันท์ของกรมปรึกษาราชบัลลังก์ ภายหลังการประกาศสละราชสมบัติของสมเด็จพระนโรดม สีหนุ อันเนื่องจากปัญหาทางพระพลานามัย

พระราชพิธีราชาภิเษก

ในพระราชพิธีพระราชาภิเษก ซึ่งถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์และวิทยุทั่วประเทศ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี ซึ่งทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่สองของราชอาณาจักรกัมพูชาในรอบ 60 ปี พระองค์ได้มีพระปฐมบรมราชโองการว่า "พระองค์จะทรงปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายกัมพูชา และจะทรงประกอบพระราชภารกิจเพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน"

พระปรมาภิไธย

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี ทรงได้รับการถวายพระปรมาภิไธยในพระราชพิธีราชาภิเษกว่า พระกรุณา พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี สมานภูมิชาติศาสนา รักขตขัตติยา เขมรารัฐราษฎร์ พุทธินทราธรามหากษัตริย์ เขมราชนา สมูโหภาส กัมพุชเอกราชรัฐบูรณสันติ ศุภมังคลา สิรีวิบุลา เขมราศรีพิราษฎร์ พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี ([ព្រះករុណា ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី សមានភូមិជាតិសាសនា រក្ខតខត្តិយា ខេមរារដ្ឋរាស្ត្រ ពុទ្ធិន្ទ្រាធរាមមហាក្សត្រ ខេមរាជនា សមូហោភាស កម្ពុជឯករាជរដ្ឋបូរណសន្តិ សុភមង្គលា សិរីវិបុលា ខេមរាស្រីពិរាស្ត្រ ព្រះចៅក្រុងកម្ពុជាធិបតី พฺระกรุณา พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี สมานภูมิชาติสาสนา รกฺขตขตฺติยา เขมรารฎฺฐราสฺตฺร พุทฺธินฺทฺราธรามมหากฺสตฺร เขมราชนา สมูโหภาส กมฺพุชเอกราชรฎฺฐบูรณสนฺติ สุภมงฺคลา สิรีวิบุลา เขมราสฺรีพิราสฺตฺร พฺระเจากฺรุงกมฺพุชาธิบตี] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))

สร้อยพระปรมาภิไธยนั้นแปลได้ความว่า "ผู้รับใช้มาตุภูมิ ศาสนา ประชาชาติ และประชาราษฎร์เขมร โดยสวามิภักดิ์ และภักดีภาพ มหากษัตริย์ซึ่งพระพุทธและพระอินทร์ท่านอุปถัมภ์ ผู้รวบรวมเขมรชนทั้งสิ้น ผู้ปกป้องเอกราช บูรณภาพแผ่นดินและสันติภาพของกัมพูชา พร้อมทั้งศุภมงคล เสรีภาพ และวิบุลภาพ ของประชาราษฎร์เขมร"[7]

พระราชกรณียกิจหลังขึ้นครองราชย์

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ประจำชาติกัมพูชา

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี ได้ทรงมีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ประจำชาติกัมพูชาเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2548 ในพระราชกฤษฎีกาได้ประกาศให้มีพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์เป็นสัญลักษณ์ของกัมพูชา 7 อย่างด้วยกันคือ ดอกลำดวน, ต้นตาล, กล้วยไข่, กูปรี, ปลากะโห้, นกช้อนหอยใหญ่ และ เต่าจาน[8]

การที่ได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว นาย Chuch Phoeurn รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ให้สัมภาษณ์ว่า การเลทอกสัญลักษณ์ทั้ง 7 อย่างเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติกัมพูชานั้นเพื่อจะทำให้สามารถอนุรักษ์พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ของกัมพูชาไม่ให้สูญพันธุ์ อย่างไรก็ตามสัญลักษณ์ทั้ง 7 อย่างที่ถูกเลือกเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติ ได้ถูกสอนในโรงเรียนทั่วกัมพูชาในชั้นเรียนวิชาภูมิศาสตร์

พระราชอิสริยยศและพระเกียรติยศ

ธรรมเนียมพระยศของ
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
ธงประจำพระอิสริยยศ
การทูลព្រះអង្គ (ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท)
การแทนตนទូលព្រះបង្គំ/ខ្ញុំម្ចាស់ (ข้าพระพุทธเจ้า)
การขานรับព្រះករុណាថ្លៃវិសេស/ព្រះពរម្ចាស់(พระพุทธเจ้าข้า/เพคะ)
ลำดับโปเจียม1
  • 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 - "สมเด็จกรมขุน" ([សម្តេចក្រុមឃុន สฺมเตจกฺรุมฆุน] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))
  • 31 สิงหาคม พ.ศ. 2547 - "พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ" ([សម្តេចព្រះបរមនាថ สมฺเตจพฺระบรมนาถ] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))

รางวัลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

 ฝรั่งเศส พ.ศ. 2547 เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้นทุติยาภรณ์
 ญี่ปุ่น 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2553[9] เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ ชั้นสังวาล
 ฝรั่งเศส พ.ศ. 2553 เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้นประถมาภรณ์

รางวัล

  • เช็กเกีย รางวัลพลเมืองกิตติศักดิ์แห่งกรุงปราก พ.ศ. 2549
  • ฝรั่งเศส รางวัลเหรียญเงินแห่งกรุงปารีส

พระราชตระกูล

อ้างอิง

  1. รุ่งมณี เมฆโสภณ. คนสองแผ่นดิน. กรุงเทพ : บ้านพระอาทิตย์, มีนาคม 2551. หน้า 203
  2. 25 พระราชอาคันตุกะ (1) ข้อมูลจากเว็บไซต์นิตยสารสารคดี
  3. Vive la Reine Monique!
  4. King's biography
  5. Biographie de Sar Samdech Norodom Narindrapong
  6. Princess Bejaratana
  7. ศานติ ภักดีคำ. พระนามกษัตริย์กัมพูชาองค์ใหม่ ควรใช้อย่างไรในภาษาไทย ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547
  8. Phearon Chey (06 มิถุนายน 2012). "Saving the seven symbols". The Phnom Penh Post. สืบค้นเมื่อ 26 กันยายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ royalark1
  10. ‘พระราชวงศ์เขมร’ และ ‘พระราชวงศ์ไทย’ โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร์ ฉบับที่ 2500 ปีที่ 48 ประจำวัน อังคาร ที่ 17 กันยายน 2545
  11. http://www.embassyofcambodia.org.nz/documents/Special_Issue.pdf

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี ถัดไป
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ
พระมหากษัตริย์กัมพูชา
(ราชสกุลนโรดม)

(14 ตุลาคม พ.ศ. 2547 – ปัจจุบัน)
ยังอยู่ในราชสมบัติ