ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าธงไชยสิริพันธ์ ศรีธวัช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
|father-type = พระบิดา
|father-type = พระบิดา
|title = หม่อมเจ้าชั้น 4}}
|title = หม่อมเจ้าชั้น 4}}
'''อำมาตย์โท หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช''' (His Serene Highness Prince Thongjaya Siribandha Sridhavaj; 10 ธันวาคม พ.ศ. 2433 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515) เป็นพระโอรสลำดับที่ 7 ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ]] ประสูติแต่หม่อมเผื่อน ศรีธวัช ณ อยุธยา
อำมาตย์โท '''หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช''' (His Serene Highness Prince Thongjaya Siribandha Sridhavaj; 10 ธันวาคม พ.ศ. 2433 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515) เป็นพระโอรสลำดับที่ 7 ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ]] ประสูติแต่หม่อมเผื่อน ศรีธวัช ณ อยุธยา


หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช ทรงจบการศึกษาที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มต้นรับราชการเป็น มหาดเล็กรายงานมณฑลปราจีณ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2451
หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช ทรงจบการศึกษาที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มต้นรับราชการเป็น มหาดเล็กรายงานมณฑลปราจีณ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2451
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
* อำมาตย์โท เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑
* อำมาตย์โท เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑


== เครื่องราชอิศริยาภรณ์และเหรียญ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ ==
* เหรียญรัชฎาภิเศก เมื่อ ศก ๑๑๒
* เหรียญรัชฎาภิเศก เมื่อ ศก ๑๑๒
* เหรียญประพาศยุโรป ครั้งที่หนึ่ง ศก ๑๑๖ เมื่อ ศก ๑๑๖
* เหรียญประพาศยุโรป ครั้งที่หนึ่ง ศก ๑๑๖ เมื่อ ศก ๑๑๖

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:25, 15 ธันวาคม 2562

หม่อมเจ้าธงไชยสิริพันธ์ ศรีธวัช
หม่อมเจ้าชั้น 4
ประสูติ10 ธันวาคม พ.ศ. 2433
สิ้นชีพตักษัย10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (81 ปี)
หม่อมหม่อมชื้น ศรีธวัช ณ อยุธยา
พระบุตร8 คน
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ
พระมารดาหม่อมเผื่อน ศรีธวัช ณ อยุธยา

อำมาตย์โท หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช (His Serene Highness Prince Thongjaya Siribandha Sridhavaj; 10 ธันวาคม พ.ศ. 2433 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515) เป็นพระโอรสลำดับที่ 7 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ ประสูติแต่หม่อมเผื่อน ศรีธวัช ณ อยุธยา

หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช ทรงจบการศึกษาที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มต้นรับราชการเป็น มหาดเล็กรายงานมณฑลปราจีณ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2451

ครอบครัว

หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช เสกสมรสกับ หม่อมชื้น ศรีธวัช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ประพันธเสน ธิดาของผูกและจวง ประพันธเสน แพทย์แผนโบราณ คหบดีตำบลบางยี่ขัน) มีโอรส-ธิดารวม 8 คน ดังนี้

  1. หม่อมราชวงศ์หญิงศรีสุดา ศรีธวัช (ถึงแก่กรรม)
  2. หม่อมราชวงศ์ชายธชานันท์ ศรีธวัช (ถึงแก่กรรม)
  3. หม่อมราชวงศ์ชายพันธุธัช ศรีธวัช (ถึงแก่กรรม)
  4. หม่อมราชวงศ์หญิงเจริญศรี กาญจนบุตร(ถึงแก่กรรม)
  5. หม่อมราชวงศ์หญิงศรีประภาศ วัชรางกูล (ถึงแก่กรรม)
  6. หม่อมราชวงศ์ชายสุรธัช ศรีธวัช (ถึงแก่กรรม)
  7. หม่อมราชวงศ์ชายสิริชัย ศรีธวัช
  8. หม่อมราชวงศ์ชายเทิดไชย ศรีธวัช (ถึงแก่กรรม)

หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช ทรงรับราชการทั้งหมดเป็นเวลา 25 ปี หลังจากออกจากราชการเนื่องจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ก็ได้กลับมาอยู่ที่ตำหนักริมแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ตำบลบางยี่ขัน สิ้นชีพิตักษัย เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2515 ด้วยโรคชรา สิริชันษา 82 ปี

ประวัติรับราชการ

  • มหาดเล็กรายงานมณฑลปราจีณ
  • นายอำเภอประจันตคาม เมืองปราจีณบุรี
  • ปลัดจังหวัดชุมพร
  • ปลัดจังหวัดสุราษฎรธานี
  • ปลัดจังหวัดนครศรีธรรมราช
  • ผู้รั้งผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง
  • ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง (พ.ศ. 2465 - พ.ศ. 2470)[1]
  • ผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก

ลำดับพระยศ

  • รองอำมาตย์ตรี เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๔
  • รองอำมาตย์โท เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๑
  • รองอำมาตย์เอก เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๒
  • อำมาตย์ตรี เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๗
  • อำมาตย์โท เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑

เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ

  • เหรียญรัชฎาภิเศก เมื่อ ศก ๑๑๒
  • เหรียญประพาศยุโรป ครั้งที่หนึ่ง ศก ๑๑๖ เมื่อ ศก ๑๑๖
  • เหรียญทวีธาภิเศก เมื่อ ศก ๑๒๒
  • เหรียญรัชมงคล เมื่อ ศก ๑๒๖
  • เหรียญรัชมังคลาภิเศก เมื่อ ศก ๑๒๗
  • เหรียญบรมราชาภิเศก เมื่อ ศก ๑๓๐
  • เบ็ญจมาภรณ์มงกุฎสยาม เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๖๒
  • เบญจมาภรณ์ช้างเผือกชั้นที่๕ เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๕
  • เหรียญศารทูลมาลา เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๔๖๘
  • จตุรถาภรณ์มงกุฎสยามชั้น ๔ เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๔๖๙
  • เหรียญบรมราชาภิเศกรัชกาลที่ ๗ (ทอง) เมื่อปี ๒๔๖๙

อ้างอิง