ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝันร้าย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TheWikipedian1250 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Johann Heinrich Füssli 053.jpg|thumb|''ฝันร้าย'', ภาพวาดโดย[[เฮนรีฟูลี]] ([[1802]]).]]
[[ไฟล์:Johann Heinrich Füssli 053.jpg|thumb|''ฝันร้าย'', ภาพวาดโดย[[เฮนรีฟูลี]] ([[1802]]).]]
'''ฝันร้าย''' ({{lang-en|nightmare}}) เป็นความฝันไม่น่าอภิรมย์ที่สามารถทำให้เกิดการตอบสนองทางอารมณ์เชิงลบอย่างรุนแรงจากจิต ที่โดยทั่วไปมักเป็น[[ความกลัว]]หรือสยอง แต่ยังรวมถึง[[ความสิ้นหวัง]] [[ความวิตกกังวล]]และ[[ความเศร้า]]ใหญ่หลวงด้วย ความฝันอาจมีสถานการณ์อันตราย ไม่สบาย ความกลัวทางจิตหรือทางกาย ผู้ที่ฝันร้ายโดยทั่วไปมักตื่นขึ้นโดยความทุกข์ทรมานและอาจไม่สามารถกลับไปนอนหลับได้เป็นระยะเวลานาน<ref>American Psychiatric Association (2000), Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, 4th ed, TR, p. 631</ref>
'''ฝันร้าย''' ({{lang-en|nightmare}}) เป็นความฝันไม่น่าอภิรมย์ที่สามารถทำให้เกิดการตอบสนองทางอารมณ์เชิงลบอย่างรุนแรงจากจิต ที่โดยทั่วไปมักเป็น[[ความกลัว]]หรือสยอง แต่ยังรวมถึง[[ความสิ้นหวัง]] [[ความวิตกกังวล]]และ[[ความเศร้า]]ใหญ่หลวงด้วย ความฝันอาจมีสถานการณ์อันตราย ไม่สบาย ความกลัวทางจิตหรือทางกาย ผู้ที่ฝันร้ายโดยทั่วไปมักตื่นขึ้นโดยความทุกข์ทรมานและอาจไม่สามารถกลับไปนอนหลับได้เป็นระยะเวลานาน<ref>American Psychiatric Association (2000), Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, 4th ed, TR, p. 631</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:20, 11 ธันวาคม 2562

ฝันร้าย, ภาพวาดโดยเฮนรีฟูลี (1802).

ฝันร้าย (อังกฤษ: nightmare) เป็นความฝันไม่น่าอภิรมย์ที่สามารถทำให้เกิดการตอบสนองทางอารมณ์เชิงลบอย่างรุนแรงจากจิต ที่โดยทั่วไปมักเป็นความกลัวหรือสยอง แต่ยังรวมถึงความสิ้นหวัง ความวิตกกังวลและความเศร้าใหญ่หลวงด้วย ความฝันอาจมีสถานการณ์อันตราย ไม่สบาย ความกลัวทางจิตหรือทางกาย ผู้ที่ฝันร้ายโดยทั่วไปมักตื่นขึ้นโดยความทุกข์ทรมานและอาจไม่สามารถกลับไปนอนหลับได้เป็นระยะเวลานาน[1]

ฝันร้ายสามารถเกิดจากสาเหตุทางกายภาพ เช่น การนอนหลับในที่ตำแหน่งที่ไม่สบายหรือติดขัด มีไข้ หรือสาเหตุทางจิตวิทยา เช่น ความเครียด ความวิตกกังวลและการย่อยอนุพันธ์ฝิ่น (opioid drugs) ที่ใช้ในยาแก้ปวด เช่น ออกซิโคโดนและไฮโดรโคโดน ก็ได้ การรับประทานก่อนเข้านอน ซึ่งเพิ่มเมแทบอลิซึมของร่างกายและกิจกรรมของสมอง ก็สามารถเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดฝันร้ายได้[2] ฝันร้ายกลับเป็นซ้ำที่สามารถรบกวนรูปแบบการนอนหลับและเป็นเหตุของการนอนไม่หลับอาจต้องการความช่วยเหลือทางการแพทย์

อ้างอิง

  1. American Psychiatric Association (2000), Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, 4th ed, TR, p. 631
  2. Stephens, Laura (2006). "Nightmares :)". Http://web.archive.org/web/20070831193305/http://www.psychologytoday.com/conditions/nightmare.html. {{cite journal}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |journal= (help)