ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือกระบี่ปราบเมืองมาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{|{{Infobox Ship Begin}}
{|{{Infobox Ship Begin}}
{{Infobox Ship Image
{{Infobox Ship Image
| Ship image = [[ไฟล์:เรือกระบี่ปราบมาร.jpg|300px]]
| Ship image = [[ไฟล์:Krabi Prap Mueang Man Barge (I).jpg|300px]]
| Ship caption = เรือกระบี่ปราบเมืองมาร
| Ship caption = เรือกระบี่ปราบเมืองมาร ในช่วงซ้อมพระราชพิธี[[กระบวนพยุหยาตราชลมารค]] วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2562
}}
}}
{{Infobox Ship Career
{{Infobox Ship Career
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
| Ship status =
| Ship status =
| Ship notes =
| Ship notes =
| Ship badge =
| Ship badge = [[file:Thailand Bangkok Barge Museum Hanuman.jpg|200px]]
}}
}}
{{Infobox Ship Characteristics
{{Infobox Ship Characteristics
บรรทัด 92: บรรทัด 92:
|}
|}


'''เรือกระบี่ปราบเมืองมาร''' เป็นเรือพระราชพิธี ชนิดหนึ่ง<ref>http://www.navy.mi.th/sctr/royal_barge_60/brage3.php</ref>หน้ามีลักษณะเหมือนรูปโขน ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำ<ref>http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/bm521/kurokung_1/kurokung-web1/contents/04_05.html</ref> ยาว 13 วา 2 ศอก 1 คืบ กว้าง 4 ศอก ลึก 1 ศอก กำลัง 5 ศอก 4 นิ้ว ลำเดิมถูกระเบิดเสียหาย กรมศิลปากรเก็บหัวเรือท้ายเรือไว้ ในพิพิธภัณฑ์เมื่อปี [[พ.ศ. 2591]]
'''เรือกระบี่ปราบเมืองมาร''' เป็นเรือพระราชพิธี ชนิดหนึ่ง<ref>http://www.navy.mi.th/sctr/royal_barge_60/brage3.php</ref>หน้ามีลักษณะเหมือนรูปโขน ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำ<ref>http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/bm521/kurokung_1/kurokung-web1/contents/04_05.html</ref> ยาว 13 วา 2 ศอก 1 คืบ กว้าง 4 ศอก ลึก 1 ศอก กำลัง 5 ศอก 4 นิ้ว ลำเดิมถูกระเบิดเสียหาย กรมศิลปากรเก็บหัวเรือท้ายเรือไว้ ในพิพิธภัณฑ์เมื่อปี พ.ศ. 2591


ส่วนลำปัจจุบันสร้างใหม่ เมื่อ [[พ.ศ. 2510]] โดยใช้หัวเรือเดิมนำมาซ่อมแซม ช่างแกะสลักลวดลายทำงานประมาณ 12 เดือน ช่างรักทำงานประมาณ 4 เดือน ช่างเขียนทำงานประมาณ 6 เดือน ช่างปิดทองและประดับกระจกทำงานประมาณ 4 เดือน น้ำหนัก 5.62 ตัน ยาว 26.80 เมตร กว้าง 2.10 เมตร ลึก 0.51 เมตร กินน้ำลึก 0.25 เมตร ฝีพาย 36 นาย นายท้าย 2 นาย หัวเรือมีช่องสำ หรับติดตั้งปืนใหญ่ 1 กระบอก ขนาด 65 มม. เหนือช่องปืนและเป็นรูปขุนกระบี่สีขาว
ส่วนลำปัจจุบันสร้างใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2510 โดยใช้หัวเรือเดิมนำมาซ่อมแซม ช่างแกะสลักลวดลายทำงานประมาณ 12 เดือน ช่างรักทำงานประมาณ 4 เดือน ช่างเขียนทำงานประมาณ 6 เดือน ช่างปิดทองและประดับกระจกทำงานประมาณ 4 เดือน น้ำหนัก 5.62 ตัน ยาว 26.80 เมตร กว้าง 2.10 เมตร ลึก 0.51 เมตร กินน้ำลึก 0.25 เมตร ฝีพาย 36 นาย นายท้าย 2 นาย หัวเรือมีช่องสำ หรับติดตั้งปืนใหญ่ 1 กระบอก ขนาด 65 มม. เหนือช่องปืนและเป็นรูปขุนกระบี่สีขาว


* [[พ.ศ. 2512]]<ref>http://www.navy.mi.th/sctr/royal_barge_60/kabeprabmerngman.php</ref> จัดทำเครื่องตกแต่งเรือใหม่ตั้งแต่ [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2512]] จนถึง [[25 กุมภาพันธ์]]
* [[พ.ศ. 2512]]<ref>http://www.navy.mi.th/sctr/royal_barge_60/kabeprabmerngman.php</ref> จัดทำเครื่องตกแต่งเรือใหม่ตั้งแต่ [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2512]] จนถึง [[25 กุมภาพันธ์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:58, 10 ธันวาคม 2562

เรือกระบี่ปราบเมืองมาร ในช่วงซ้อมพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ประวัติ
ประเทศไทย
ชื่อlist error: <br /> list (help)
ไทย: กระบี่ปราบเมืองมาร
โรมัน: Krabi Prab Meung Maan
สัญลักษณ์
ลักษณะเฉพาะ
ประเภท: เรือรูปสัตว์
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 5.62 ตัน
ความยาว: 26.80 เมตร
ความกว้าง: 2.10 เมตร
กินน้ำลึก: 0.25 เมตร
ความลึก: 0.51 เมตร
ลูกเรือ: 38
หมายเหตุ: ฝีพาย 36 คน
นายท้าย 2 คน

เรือกระบี่ปราบเมืองมาร เป็นเรือพระราชพิธี ชนิดหนึ่ง[1]หน้ามีลักษณะเหมือนรูปโขน ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำ[2] ยาว 13 วา 2 ศอก 1 คืบ กว้าง 4 ศอก ลึก 1 ศอก กำลัง 5 ศอก 4 นิ้ว ลำเดิมถูกระเบิดเสียหาย กรมศิลปากรเก็บหัวเรือท้ายเรือไว้ ในพิพิธภัณฑ์เมื่อปี พ.ศ. 2591

ส่วนลำปัจจุบันสร้างใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2510 โดยใช้หัวเรือเดิมนำมาซ่อมแซม ช่างแกะสลักลวดลายทำงานประมาณ 12 เดือน ช่างรักทำงานประมาณ 4 เดือน ช่างเขียนทำงานประมาณ 6 เดือน ช่างปิดทองและประดับกระจกทำงานประมาณ 4 เดือน น้ำหนัก 5.62 ตัน ยาว 26.80 เมตร กว้าง 2.10 เมตร ลึก 0.51 เมตร กินน้ำลึก 0.25 เมตร ฝีพาย 36 นาย นายท้าย 2 นาย หัวเรือมีช่องสำ หรับติดตั้งปืนใหญ่ 1 กระบอก ขนาด 65 มม. เหนือช่องปืนและเป็นรูปขุนกระบี่สีขาว

  • พ.ศ. 2512[3] จัดทำเครื่องตกแต่งเรือใหม่ตั้งแต่ 29 กันยายน พ.ศ. 2512 จนถึง 25 กุมภาพันธ์
  • พ.ศ. 2513 โดยบริษัท สำนักงานเกษรดอก ประดู่ จำกัด เป็นผู้ทำ
  • พ.ศ. 2525 ซ่อมใหญ่เปลี่ยนไม้ตัวเรือที่ผุหรือชำรุดบางส่วน ลงรักปิดทอง ทาสีตัวเรือใหม่และอื่น ๆ เพื่อให้ทันใช้ในงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2525 เริ่มซ่อมทำตั้งแต่ 4 กันยายน
  • พ.ศ. 2524 จนถึงวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2525 โดยมี บริษัท สหายสันต์ จำกัด เป็นผู้รับเหมาซ่อมทำ การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง

อ้างอิง