ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบหนองหาน"

พิกัด: 17°11′56″N 104°11′9″W / 17.19889°N 104.18583°W / 17.19889; -104.18583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้สะกดคำ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
'''ทะเลสาบหนองหาร''' หรือ '''หนองหารหลวง'''<ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349061680 |title= หนองหาน ไม่ใช่ หนองหาร ยุคสุโขทัย ปลูกเรือนเสาสูง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 |work= |publisher= มติชนออนไลน์ |accessdate= 14 ตุลาคม 2557 }}</ref> เป็น[[บึง|ทะเลสาบน้ำจืด]]ขนาดใหญ่ที่สุดของ[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ เป็นรองจาก[[บึงบอระเพ็ด]]<ref>นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172</ref> ตั้งอยู่บริเวณ[[อำเภอเมืองสกลนคร]] [[อำเภอโพนนาแก้ว]] [[จังหวัดสกลนคร]] มีเนื้อที่กว่า 77,000 [[ไร่]] หรือ (123.2 [[ตารางกิโลเมตร]])ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0–10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่าหนองหารเกิดจากการยุบตัวของแผ่นเปลือกโลกอันเนื่องมาจากการถูกชะล้างของชั้นหินเกลือใต้ดินจนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลายยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา
'''ทะเลสาบหนองหาร''' หรือ '''หนองหารหลวง'''<ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349061680 |title= หนองหาน ไม่ใช่ หนองหาร ยุคสุโขทัย ปลูกเรือนเสาสูง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 |work= |publisher= มติชนออนไลน์ |accessdate= 14 ตุลาคม 2557 }}</ref> เป็น[[บึง|ทะเลสาบน้ำจืด]]ขนาดใหญ่ที่สุดของ[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ เป็นรองจาก[[บึงบอระเพ็ด]]<ref>นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172</ref> ตั้งอยู่บริเวณ[[อำเภอเมืองสกลนคร]] [[อำเภอโพนนาแก้ว]] [[จังหวัดสกลนคร]] มีเนื้อที่กว่า 77,000 [[ไร่]] หรือ (123.2 [[ตารางกิโลเมตร]])ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0–10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่าหนองหารเกิดจากการยุบตัวของแผ่นเปลือกโลกอันเนื่องมาจากการถูกชะล้างของชั้นหินเกลือใต้ดินจนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลายยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา


ทะเลสาบหนองหานประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณภายในเกาะ
ทะเลสาบหนองหารประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณภายในเกาะ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:43, 4 ธันวาคม 2562

ทางเดินในหนองหาร

ทะเลสาบหนองหาร หรือ หนองหารหลวง[1] เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ เป็นรองจากบึงบอระเพ็ด[2] ตั้งอยู่บริเวณอำเภอเมืองสกลนคร อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร มีเนื้อที่กว่า 77,000 ไร่ หรือ (123.2 ตารางกิโลเมตร)ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0–10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่าหนองหารเกิดจากการยุบตัวของแผ่นเปลือกโลกอันเนื่องมาจากการถูกชะล้างของชั้นหินเกลือใต้ดินจนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลายยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา

ทะเลสาบหนองหารประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณภายในเกาะ

อ้างอิง

  1. สุจิตต์ วงษ์เทศ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2555). "หนองหาน ไม่ใช่ หนองหาร ยุคสุโขทัย ปลูกเรือนเสาสูง". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172

17°11′56″N 104°11′9″W / 17.19889°N 104.18583°W / 17.19889; -104.18583