ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อูโก กาวัลเลโร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ธนบดั เมืองโคตร (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ธนบดั เมืองโคตร (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
ภายหลังจากอิตาลีได้เข้าสู่[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1940 คาวาเยโรได้เข้ามาแทนที่จากปีเอโตร บาโดลโย ในฐานะที่เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการการป้องกัน ไม่นานหลังจากนั้น เขาได้ถูกส่งไปเป็นผู้บัญชาการกองทัพอิตาลีที่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ[[สงครามอิตาลี-กรีซ]]ที่ไม่ประสบความสำเร็จจนถึงฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 1941 ในขณะที่เขาได้จัดการในการหยุดยั้งการรุกของกรีซ คาวาเยโรไม่อาจหยุดยั้งไว้ได้จนถึงกับต้องจนมุมแต่เยอรมันก็ได้เข้ามาแทรกแซงไว้ได้ ในขณะเดียวกัน บทบาทของเขาในฐานะหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการได้ถูกแต่งตั้งเพิ่มโดยนายพล [[อัลเฟรโด กุซโซนี]]
ภายหลังจากอิตาลีได้เข้าสู่[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1940 คาวาเยโรได้เข้ามาแทนที่จากปีเอโตร บาโดลโย ในฐานะที่เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการการป้องกัน ไม่นานหลังจากนั้น เขาได้ถูกส่งไปเป็นผู้บัญชาการกองทัพอิตาลีที่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ[[สงครามอิตาลี-กรีซ]]ที่ไม่ประสบความสำเร็จจนถึงฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 1941 ในขณะที่เขาได้จัดการในการหยุดยั้งการรุกของกรีซ คาวาเยโรไม่อาจหยุดยั้งไว้ได้จนถึงกับต้องจนมุมแต่เยอรมันก็ได้เข้ามาแทรกแซงไว้ได้ ในขณะเดียวกัน บทบาทของเขาในฐานะหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการได้ถูกแต่งตั้งเพิ่มโดยนายพล [[อัลเฟรโด กุซโซนี]]


ในฐานะที่เป็นหัวหน้ากองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งอิตาลี เขาได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับจอมพลเยอรมัน อัลแบร์ท เค็สเซิลริง เขาได้มีความสัมพันธ์ที่ค่อนข้างขัดแย้งกับจอมพล [[แอร์วีน ร็อมเมิล]] ซึ่งได้รุกเข้าสู่อียิปต์ ภายหลังจากความสำเร็จของเขาในยุทธการที่กาซาลาซึ่งเขาไม่เห็นด้วย ได้สนับสนุนแทนที่ในการวางแผนการบุกครองที่มอลตา อย่างไรก็ตาม ความคิดเห็นของเขาได้ตกลงไป
ในฐานะที่เป็นหัวหน้ากองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งอิตาลี เขาได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับจอมพลเยอรมัน [[อัลแบร์ท เค็สเซิลริง]] เขาได้มีความสัมพันธ์ที่ค่อนข้างขัดแย้งกับจอมพล [[แอร์วีน ร็อมเมิล]] ซึ่งได้รุกเข้าสู่อียิปต์ ภายหลังจากความสำเร็จของเขาในยุทธการที่กาซาลาซึ่งเขาไม่เห็นด้วย ได้สนับสนุนแทนที่ในการวางแผนการบุกครองที่มอลตา อย่างไรก็ตาม ความคิดเห็นของเขาได้ตกลงไป
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:17, 3 ธันวาคม 2562

อูโก คาวาเยโร
เกิด20 กันยายน ค.ศ. 1880
Casale Monferrato, Piedmont, อิตาลี
เสียชีวิต13 กันยายน ค.ศ. 1943 (aged 62)
Frascati, ลัตซีโย, อิตาลี
รับใช้ อิตาลี
แผนก/สังกัด Royal Italian Army
ประจำการ1900–1943
ชั้นยศจอมพลแห่งอิตาลี
บังคับบัญชาหัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายเสนาธิการทหาร
การยุทธ์สงครามอิตาลี-ตุรกี
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่สอง
บำเหน็จกางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก

อูโก คาวาเยโร(อิตาลี: Ugo Cavallero; 20 กันยายน ค.ศ. 1880 – 13 กันยายน ค.ศ. 1943) เป็นผู้บัญชาการแห่งกองทัพอิตาลีในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็กของนาซีเยอรมนี

ชีวประวัติ

เกิดใน in Casale Monferrato, แคว้นปีเยมอนเต คาวาเยโรในวัยเด็กนั้นมีสิทธิพิเศษในฐานะสมาชิกของขุนนางอิตาลี ภายหลังจากเข้าศึกษาโรงเรียนทหาร คาวาเยโรได้รับยศตำแหน่งเป็นร้อยตรีที่สองในปี ค.ศ. 1900 คาวาเยโรได้เข้าเรียนที่วิทยาลัยในเวลาต่อมาและจบการศึกษาในปี ค.ศ. 1911 ได้รับปริญญาในสาขาคณิตศาสตร์ ในขณะที่ยังอยู่ในกองทัพ คาวาเยโรได้เข้าสู้รบในลิเบียในปี ค.ศ. 1913 ในช่วงระหว่างสงครามอิตาลี-ตุรกีและได้รับรางวัลเหรียญทองแดงจากความกล้าหาญของทหาร

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ในปี ค.ศ. 1915 คาวาเยโรได้ถูกย้ายไปยังกองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งอิตาลี จากผู้จัดระเบียบและยุทธวิธีที่ดีเยี่ยม คาวาเยโรได้กลายเป็นนายพลจัตตวาและหัวหน้าสำนักงานปฏิบัติการของกองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งอิตาลีในปี ค.ศ. 1918 ด้วยความสามารถนี้ คาวาเยโรได้มีส่วนช่วยในการวางแผนที่นำไปสู่ชัยชนะของอิตาลีที่ Piave และ Vittorio Veneto ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในช่วงเวลาที่เขาเป็นหัวหน้าวางแผนของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายเสนาธิการทหารอิตาลี เขาได้สร้างความเป็นปรปักษ์กับปีเอโตร บาโดลโย ที่ดำรงตำแหน่งเป็น Sottocapo di Stato Maggiore(รองหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการ)ของกองทัพ

ระหว่างสงคราม

คาวาเยโรได้ลาออกจากกองทัพในปี ค.ศ. 1919 แต่เวลาต่อมาได้กลับเข้ามาอีกครั้งในปี ค.ศ. 1925 ซึ่งในช่วงเวลานั้น เขาได้กลายเป็นรัฐมนตรีผู้ช่วยว่าการกระทรวงสงครามของเบนิโต มุสโสลินี ด้วยความมุ่งมั่นของลัทธิฟาสซิสต์ คาวาเยโรได้ทำหน้าที่เป็นวุฒิสภาในปี ค.ศ. 1926 และในปี ค.ศ. 1927 ได้กลายเป็นพลตรี หลังจากนั้นก็ได้ลาออกจากกองทัพเป็นครั้งที่สอง คาวาเยโรได้มีส่วนร่วมในธุรกิจและวิสาหกิจการฑูตตลอดในช่วงปลายปี ค.ศ. 1920 และช่วงต้นปี ค.ศ. 1930

คาวาเยโรได้กลับเข้ากองทัพเป็นครั้งที่สามและเป็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1937 ได้รับตำแหน่งยศเป็นพลโท เขาได้กลายเป็นผู้บัญชาการกองกำลังผสมของอิตาลีในแอฟริกาตะวันออกแห่งอิตาลีในปี ค.ศ. 1938 และเป็นนายพลอย่างเต็มตัวในปี ค.ศ. 1940

สงครามโลกครั้งที่สอง

คาวาเยโรกับแอร์วีน ร็อมเมิล

ภายหลังจากอิตาลีได้เข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1940 คาวาเยโรได้เข้ามาแทนที่จากปีเอโตร บาโดลโย ในฐานะที่เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการการป้องกัน ไม่นานหลังจากนั้น เขาได้ถูกส่งไปเป็นผู้บัญชาการกองทัพอิตาลีที่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามอิตาลี-กรีซที่ไม่ประสบความสำเร็จจนถึงฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 1941 ในขณะที่เขาได้จัดการในการหยุดยั้งการรุกของกรีซ คาวาเยโรไม่อาจหยุดยั้งไว้ได้จนถึงกับต้องจนมุมแต่เยอรมันก็ได้เข้ามาแทรกแซงไว้ได้ ในขณะเดียวกัน บทบาทของเขาในฐานะหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการได้ถูกแต่งตั้งเพิ่มโดยนายพล อัลเฟรโด กุซโซนี

ในฐานะที่เป็นหัวหน้ากองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งอิตาลี เขาได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับจอมพลเยอรมัน อัลแบร์ท เค็สเซิลริง เขาได้มีความสัมพันธ์ที่ค่อนข้างขัดแย้งกับจอมพล แอร์วีน ร็อมเมิล ซึ่งได้รุกเข้าสู่อียิปต์ ภายหลังจากความสำเร็จของเขาในยุทธการที่กาซาลาซึ่งเขาไม่เห็นด้วย ได้สนับสนุนแทนที่ในการวางแผนการบุกครองที่มอลตา อย่างไรก็ตาม ความคิดเห็นของเขาได้ตกลงไป