ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิธิ สถาปิตานนท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม. ด้วย ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเกริ่น อัปเดต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Person
{{Infobox Architect
|image = Niti A49.jpg|thumb
| name = นิธิ สถาปิตานนท์
| image = Niti A49.jpg|thumb
|caption =
|name = นิธิ สถาปิตานนท์
| caption =
|nationality = ไทย
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2490|7|7}}
|birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2490|7|7}}
| birth_place =
|birth_place = {{flag|ไทย}}
| death_date =
|alma_mater = {{bulleted list|
| residence =
| [[มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์]]
| nationality = ไทย
| [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
| known_for = ผู้ก่อตั้งบริษัทสถาปนิก 49 (A49)
| [[วชิราวุธวิทยาลัย]]
| employer =
}}
| occupation = สถาปนิก <br> นักธุรกิจ
|current_residence =
| height =
| term =
|death_date =
| parents =
|death_place =
|practice_name = บริษัท สถาปนิก 49 จำกัด (A49)
| spouse = [[เลอสม สถาปิตานนท์]]
|Website =
| children = 1 <br> (นิธิศ สถาปิตานนท์)
|significant_buildings = {{bulleted list|
| relatives =
| อาคารสำนักงานกระทรวงการต่างประเทศ
| signature =
| อาคารสำนักงานเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์
| website =
| [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]
| footnotes =
| หอประชุมนวมภูมินทร์ [[วชิราวุธวิทยาลัย]]
| เจดีย์พระโพธิญาณ อนุสรณ์สถานพระโพธิญาณเถร [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
| ปรับปรุงภายใน [[ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
| บ้านพักอาศัยส่วนบุคคลหลายแห่ง
}}
|significant_projects=
|awards = {{bulleted list|
| [[ศิลปินแห่งชาติ]] สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย)
| สมาชิกกิตติมศักดิ์สมาคมสถาปนิกญี่ปุ่น (The Japan Instiute of Architects (JIA)) ปี พ.ศ. 2537
| ผลงานดีเด่นรางวัลเหรียญทองหลายครั้ง จาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>[https://ocac.go.th/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B4-%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C/ นายนิธิ สถาปิตานนท์], สำนักศิลปะวัฒนธรรม. วันที่ 13 มิถุนายน 2012</ref>
}}
}}
}}


'''นิธิ สถาปิตานนท์''' เกิด 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 เป็นสถาปนิก[[ชาวไทย]] เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทสถาปนิก 49 (A49) ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบร่วมสมัย) ประจำปี พ.ศ. 2544 เคยดำรงกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/115/11.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่อง แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย]</ref>
'''นิธิ สถาปิตานนท์''' (เกิด 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 -) เป็น[[สถาปนิก]] [[นักเขียน]] และ[[ศิลปิน]][[ชาวไทย]] โดยเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทสถาปนิก 49 (A49) และเป็นผู้บุกเบิกหนังสือลายเส้น (Li-Zenn) ที่รวบรวมผลงานออกแบบของสถาปนิกไทย ซึ่งเขามีความตั้งใจที่จะยกระดับงานสถาปัตยกรรมไทยสู่สากล นอกจากนี้เขายังเป็นวิทยากรพิเศษให้กับหลายมหาวิทยาลัย โดยภายหลังที่เขาเกษียณงานลงแล้ว ก็ได้เป็นสถาปนิกอาสาออกแบบให้กับสังคม วัดวาอารามตามต่างจังหวัดหลายแห่ง นิธิ ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบร่วมสมัย) ประจำปี พ.ศ. 2544 เคยดำรงกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/115/11.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่อง แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย]</ref>

ภายหลังจบการศึกษาจาก[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ได้ศึกษาต่อยังคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์]] ได้เริ่มต้นทำงานที่ [[ดีไซน์ 103]] อยู่ 12 ปี และมาเปิดบริษัทของตัวเองชื่อ A49 ใน ปี พ.ศ. 2526 ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการ นอกจากนี้ยังมีเป็นกรรมการผู้จัดการในเครือ 49 Group อีก 6 บริษัท


ภายหลังจบการศึกษาจาก[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ได้ศึกษาต่อยังคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์]] ได้เริ่มต้นทำงานที่ ดีไซน์ 103 อยู่ 12 ปี และมาเปิดบริษัทของตัวเองชื่อ A49 ใน ปี พ.ศ. 2526 ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการ นอกจากนี้ยังมีเป็นกรรมการผู้จัดการในเครือ 49 Group อีก 6 บริษัท
ผลงานที่โดดเด่นได้แก่อาคารที่ทำการกระทรวงการต่างประเทศ บนถนนศรีอยุธยา ที่ชนะเลิศการประกวดออกแบบ ได้รับรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อปี พ.ศ. 2536


นิธิ ยังมีชื่อเสียงในเรื่องของลายเส้นในการวาดภาพทัศนียภาพ (Perspective) ซึ่งได้รับการจัดแสดงงานหลายครั้ง
นิธิ เป็นสถาปนิกร่วมสมัย (Contemporary) ยุคบุกเบิกคนสำคัญของไทย เช่นเดียวกับ [[เมธา บุนนาค]] [[องอาจ สาตรพันธุ์]] [[สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา]] และ[[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] มีผลงานที่หลากหลายร่วมกับบริษัท A49 เช่น อาคารที่ทำการกระทรวงการต่างประเทศ อาคารสำนักงานเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์ หอประชุมนวมภูมินทร์ [[วชิราวุธวิทยาลัย]] เป็นต้น นอกจากนี้นิธิ ยังมีชื่อเสียงในเรื่องของลายเส้นในการวาดภาพทัศนียภาพ (Perspective) ซึ่งได้รับการจัดแสดงงานหลายครั้ง


==ประวัติ==
==ประวัติ==
บรรทัด 61: บรรทัด 70:
* 2545: ชนะเลิศการประกวดแบบ
* 2545: ชนะเลิศการประกวดแบบ
* 2545: รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมแบบร่วมสมัย) [[สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ]]
* 2545: รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมแบบร่วมสมัย) [[สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ]]

==ชีวิตส่วนตัว==
ด้านชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ศาสตราจารย์ [[เลอสม สถาปิตานนท์]] อดีตคณบดีและอาจารย์ประจำ[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] มีบุตร 1 คน คือ นิธิศ สถาปิตานนท์ โดยทั้งภรรยาและบุตรชายล้วนเป็นสถาปนิกทั้งหมด


==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:47, 3 ธันวาคม 2562

นิธิ สถาปิตานนท์
ไฟล์:Niti A49.jpg
เกิด7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 (76 ปี)
 ไทย
สัญชาติไทย
ศิษย์เก่า
รางวัล
ผลงานสำคัญ

นิธิ สถาปิตานนท์ (เกิด 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นสถาปนิก นักเขียน และศิลปินชาวไทย โดยเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทสถาปนิก 49 (A49) และเป็นผู้บุกเบิกหนังสือลายเส้น (Li-Zenn) ที่รวบรวมผลงานออกแบบของสถาปนิกไทย ซึ่งเขามีความตั้งใจที่จะยกระดับงานสถาปัตยกรรมไทยสู่สากล นอกจากนี้เขายังเป็นวิทยากรพิเศษให้กับหลายมหาวิทยาลัย โดยภายหลังที่เขาเกษียณงานลงแล้ว ก็ได้เป็นสถาปนิกอาสาออกแบบให้กับสังคม วัดวาอารามตามต่างจังหวัดหลายแห่ง นิธิ ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบร่วมสมัย) ประจำปี พ.ศ. 2544 เคยดำรงกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่[2]

ภายหลังจบการศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ศึกษาต่อยังคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ได้เริ่มต้นทำงานที่ ดีไซน์ 103 อยู่ 12 ปี และมาเปิดบริษัทของตัวเองชื่อ A49 ใน ปี พ.ศ. 2526 ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการ นอกจากนี้ยังมีเป็นกรรมการผู้จัดการในเครือ 49 Group อีก 6 บริษัท

นิธิ เป็นสถาปนิกร่วมสมัย (Contemporary) ยุคบุกเบิกคนสำคัญของไทย เช่นเดียวกับ เมธา บุนนาค องอาจ สาตรพันธุ์ สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา และกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา มีผลงานที่หลากหลายร่วมกับบริษัท A49 เช่น อาคารที่ทำการกระทรวงการต่างประเทศ อาคารสำนักงานเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์ หอประชุมนวมภูมินทร์ วชิราวุธวิทยาลัย เป็นต้น นอกจากนี้นิธิ ยังมีชื่อเสียงในเรื่องของลายเส้นในการวาดภาพทัศนียภาพ (Perspective) ซึ่งได้รับการจัดแสดงงานหลายครั้ง

ประวัติ

นิธิ สถาปิตานนท์ เกิดเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 มีคุณปู่คือพระยาอุภัยภาติเขตต์ (เอี่ยม สถาปิตานนท์) นายอำเภออยู่ที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับพระราชทานนามสกุล สถาปิตานนท์ หลังจากทำพลับพลาที่ประทับให้รัชกาลที่ 6 ระหว่างเสด็จอำเภอสองพี่น้อง[3]

นิธิ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาปัตยกรรมศาตร์มหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา

นิธิได้รับพระราชทานรางวัลผลงานสถาปัตยกรรมดีเด่น (เหรียญทอง) 4 ครั้ง จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและรางวัลชนะเลิศการประกวดแบบทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง และได้รับเกียรติเป็นนายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์,เลขาธิการสภาสถาปนิก, เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ The Japan Institute of Architects ฯลฯ[4]

ผลงาน

ด้านงานเขียน นิธิเขียนหนังสือบทความทางวิทยาการเกี่ยวกับวิชาชีพสถาปัตยกรรมเผยแพร่ในโอกาสต่างๆ ตลอดจนเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร ,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นต้น

รางวัลและเกียรติคุณ

  • 2527: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2528: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2532: ผลงานดีเด่นรางวัลเหรียญทอง จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2532: ผลงานดีเด่นรางวัลเหรียญทอง จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2536: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2536: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2537: ผลงานดีเด่นรางวัลเหรียญทอง จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2537: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2537: สมาชิกกิตติมศักดิ์ The Japan Instiute of Architects (JIA)
  • 2538: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2538: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2539: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2540: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2541: รองชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2542: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2542: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2545: ผลงานดีเด่นรางวัลเหรียญทอง จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2545: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2545: ชนะเลิศการประกวดแบบ
  • 2545: รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมแบบร่วมสมัย) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ

ชีวิตส่วนตัว

ด้านชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิตานนท์ อดีตคณบดีและอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตร 1 คน คือ นิธิศ สถาปิตานนท์ โดยทั้งภรรยาและบุตรชายล้วนเป็นสถาปนิกทั้งหมด

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น