ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แตงโม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.6.233.185 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Wedjet
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Pooriwat1103 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
}}
}}


'''แตงโม''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Citrullus lanatus}}) เป็น[[ผลไม้]]ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก และหวานมากแต่มีน้ำตาลน้อยกว่าผลไม้บางชนิดเนื่องจากน้ำตาลในผลคือน้ำตาลกลูโคส ​ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ใน[[ทะเลทรายคาลาฮารี]]ทวีปแอฟริกา<ref>[http://cuke.hort.ncsu.edu/cucurbit/wmelon/wmhndbk/wmbiogeography.html North Carolina State University: Watermelon biogeography].</ref> ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว<ref>Daniel Zohary and Maria Hopf, ''Domestication of Plants in the Old World'', third edition (Oxford: University Press, 2000), p. 193.</ref> [[ชาวจีน]]เริ่มปลูกแตงโมที่[[ซินเกียง]]สมัย[[ราชวงศ์ถัง]] และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่[[ทวีปอเมริกา]]พร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู
'''แตงโม''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Citrullus lanatus}}) เป็น[[ผลไม้]]ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก และหวานมากแต่มีน้ำตาลน้อยกว่าผลไม้บางชนิดเนื่องจากน้ำตาลในผลคือน้ำตาลกลูโคส ​ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ใน[[ทะเลทรายคาลาฮารี]]ทวีปแอฟริกา<ref>[http://cuke.hort.ncsu.edu/cucurbit/wmelon/wmhndbk/wmbiogeography.html North Carolina State University: Watermelon biogeography].</ref> เต้ excenfire เเห่งอาณาจักรเเตงโม เป็นคนแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว<ref>Daniel Zohary and Maria Hopf, ''Domestication of Plants in the Old World'', third edition (Oxford: University Press, 2000), p. 193.</ref> [[ชาวจีน]]เริ่มปลูกแตงโมที่[[ซินเกียง]]สมัย[[ราชวงศ์ถัง]] และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่[[ทวีปอเมริกา]]พร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู


แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับ[[แคนตาลูป]]และ[[ฟัก]] เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือ
แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับ[[แคนตาลูป]]และ[[ฟัก]] เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 2 ธันวาคม 2562

แตงโม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Cucurbitales
วงศ์: Cucurbitaceae
สกุล: Citrullus
สปีชีส์: C.  lanatus
ชื่อทวินาม
Citrullus lanatus
(Thunb.) Matsum. & Nakai
ชื่อพ้อง
  • Citrullus vulgaris

แตงโม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrullus lanatus) เป็นผลไม้ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก และหวานมากแต่มีน้ำตาลน้อยกว่าผลไม้บางชนิดเนื่องจากน้ำตาลในผลคือน้ำตาลกลูโคส ​ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทวีปแอฟริกา[1] เต้ excenfire เเห่งอาณาจักรเเตงโม เป็นคนแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว[2] ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู

แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับแคนตาลูปและฟัก เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือ

  • พันธุ์ธรรมดา มีเมล็ดขนาดเล็ก รสหวาน แบ่งย่อยได้อีกหลายพันธุ์ เช่น แตงโมจินตหรา ผลยาวรี เปลือกเขียวเข้ม มีลาย เนื้อสีแดง แตงโมตอร์ปิโด ลูกรีกว่าพันธุ์จินตหรา แตงโมกินรี ผลกลม เนื้อแดง แตงโมน้ำผึ้ง ผลกลม เนื้อเหลือง แตงโมไดอานา เปลือกเหลือง เนื้อสีแดง แตงโมจิ๋ว ผลขนาดเท่ากำปั้น เนื้อเหลือง เป็นต้น
  • พันธุ์ไม่มีเมล็ด เป็นพันธุ์ผสมเพื่อใช้ในการส่งออก ไม่มีเมล็ดแก่สีดำภายใน ในญี่ปุ่นมีการทำแตงโมให้เป็นทรงสี่เหลี่ยมโดยให้ผลเจริญในกล่อง เพื่อความสะดวกในการขนส่ง[3]
  • พันธุ์กินเมล็ด ปลูกเพื่อนำเมล็ดมาคั่ว พันธุ์นี้มีเนื้อมาก

แตงโมเป็นผลไม้ที่มีคุณสมบัติเย็น จะช่วยลดอาการปวด ไข้ คอแห้ง บรรเทาแผลในปาก เปลือกแตงโมนำไปต้มเดือด แล้วเติมน้ำตาลทราย ดื่มเพื่อป้องกันเจ็บคอ กินเป็นผลไม้สด ทำเป็นน้ำผลไม้ เปลือกหรือผลอ่อนใช้ทำอาหาร เช่น แกงส้ม ในเวียดนาม นิยมรับประทานเมล็ดแตงโมในเทศกาลปีใหม่ [4]

พบกรดอะมิโน citrulline เป็นครั้งแรกในแตงโม[5] โดยแตงโมมี citrulline มาก ถ้ารับประทานในปริมาณหลายกิโลกรัมจะตรวจพบในเลือดของผู้รัประทานได้ ซึ่งจะเข้าไปรบกวนวัฏจักรยูเรีย[6]

แตงโมดิบ (ส่วนที่กินได้)
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน127 กิโลจูล (30 กิโลแคลอรี)
7.55 g
น้ำตาล6.2 g
ใยอาหาร0.4 g
0.15 g
0.61 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(4%)
28 μg
ไทอามีน (บี1)
(3%)
0.033 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(2%)
0.021 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(1%)
0.178 มก.
(4%)
0.221 มก.
วิตามินบี6
(3%)
0.045 มก.
โฟเลต (บี9)
(1%)
3 μg
วิตามินซี
(10%)
8.1 มก.
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(1%)
7 มก.
เหล็ก
(2%)
0.24 มก.
แมกนีเซียม
(3%)
10 มก.
ฟอสฟอรัส
(2%)
11 มก.
โพแทสเซียม
(2%)
112 มก.
สังกะสี
(1%)
0.10 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ91.45 g
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

อ้างอิง

  • นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. แตงโม ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 77 - 80
  1. North Carolina State University: Watermelon biogeography.
  2. Daniel Zohary and Maria Hopf, Domestication of Plants in the Old World, third edition (Oxford: University Press, 2000), p. 193.
  3. (BBC) Square fruit stuns Japanese shoppers BBC News Friday, 15 June 2001, 10:54 GMT 11:54 UK
  4. The Asian Texans By Marilyn Dell Brady, Texas A&M University Press
  5. Wada, M. (1930). "Über Citrullin, eine neue Aminosäure im Presssaft der Wassermelone, Citrullus vulgaris Schrad". Biochem. Zeit. 224: 420.
  6. H. Mandel, N. Levy, S. Izkovitch, S. H. Korman (2005). "Elevated plasma citrulline and arginine due to consumption of Citrullus vulgaris (watermelon)". Berichte der deutschen chemischen Gesellschaft. 28 (4): 467–472. doi:10.1007/s10545-005-0467-1. PMID 15902549.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Citrullus lanatus ที่วิกิสปีชีส์