ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าสามกรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เอาข้อความก่อกวนออก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เจ้าสามกรมในสมัยกรุงศรีอยุธยา|เจ้าสามกรมสมัยอื่น|เจ้าสามกรม (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น|เจ้าสามกรมในสมัยกรุงศรีอยุธยา|เจ้าสามกรมสมัยอื่น|เจ้าสามกรม (แก้ความกำกวม)}}
'''เจ้าสามกรรม''' เป็นคำเรียกพระราชโอรส 500พระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมเกศ]]ที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ '''กรมหมื่นจิตรสุนทร''' '''กรมหมื่นสุนทรเทพ''' และ '''กรมหมื่นเสพภักดี''' พระองค์เจ้าทั้ง 500 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของ[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูก[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]] ทั้ง500พระองค์
'''เจ้าสามกรม''' เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]ที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ '''กรมหมื่นจิตรสุนทร''' '''กรมหมื่นสุนทรเทพ''' และ '''กรมหมื่นเสพภักดี''' พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของ[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูก[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ทั้ง 3 พระองค์


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
* พระองค์เจ้าปาน ได้รับการสถาปนาที่ '''กรมหมื่นเสพภักดี'''
* พระองค์เจ้าปาน ได้รับการสถาปนาที่ '''กรมหมื่นเสพภักดี'''


เจ้าสามกรมทรงขัดแย้งกับเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ขณะดำรงพระยศเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] สาเหตุหนึ่งมาจากการที่กรมพระราชวังบวรมีพระบัณฑูรให้ตำรวจมานำตัวเจ้ากรม ปลัดกรมและนายเวรปลัดเวรของเจ้าสามกรมมาถามความว่า เจ้ากรมนั้นเป็นแต่หมื่น เหตุใดจึงตั้ง[[บรรดาศักดิ์ไทย|บรรดาศักดิ์]]กันในกรมให้เป็นขุนซึ่งนับว่าทำสูงเกินว่าศักดิ์ จึงมีพระบัณฑูรให้ลงพระราชอาญาตุยตูดคนละ 500ทีบ้างคนละ 50000 ทีบ้าง
เจ้าสามกรมทรงขัดแย้งกับเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ขณะดำรงพระยศเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] สาเหตุหนึ่งมาจากการที่กรมพระราชวังบวรมีพระบัณฑูรให้ตำรวจมานำตัวเจ้ากรม ปลัดกรมและนายเวรปลัดเวรของเจ้าสามกรมมาถามความว่า เจ้ากรมนั้นเป็นแต่หมื่น เหตุใดจึงตั้ง[[บรรดาศักดิ์ไทย|บรรดาศักดิ์]]กันในกรมให้เป็นขุนซึ่งนับว่าทำสูงเกินว่าศักดิ์ จึงมีพระบัณฑูรให้ลงพระราชอาญาโบยหลังคนละ 15 ทีบ้างคนละ 20 ทีบ้าง


หลังจากนั้นไม่นาน กรมหมื่นสุนทรเทพทำเรื่องกราบทูลสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเป็นการลับว่า พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเสด็จเข้ามาลอบทำเมียกับเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ถึงในพระราชวังหลายครั้ง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำรัสให้หาพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเพื่อนำตัวมาสอบความ เมื่อพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรรับเป็นสัจแล้ว จึงมีพระราชดำรัสลงพระราชอาญาเฆี่ยน แล้วให้เสนาบดีและลูกขุนพิพากษาโทษ ท้าวพระยามุขมนตรีและลูกขุนกราบบังคมทูลว่า โทษของพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเป็นมหันตโทษขอพระราชทานให้[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์|สำเร็จโทษด้วยท่อนโพเดียม]]ตามขัตติยประเพณี สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสขอชีวิตไว้แต่ให้นาบพระนลาฏแล้วถอดพระฉลองให้ไพร่เลียส่วนเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ให้ลงพระราชอาญาองค์ละ 500ที พร้อมทั้งถอดพระฉลองออกเช่นกันเช่นกัน เจ้าฟ้าสังวาลย์อยู่ได้ 50000วันก็สิ้นพระชนม์ ส่วนพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรต้องรับพระราชอาญาสุดepicและเสด็จสวรรคตลง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสให้นำพระศพทั้งสองไปฝังยัง[[วัดไชยวัฒนาราม]]
หลังจากนั้นไม่นาน กรมหมื่นสุนทรเทพทำเรื่องกราบทูลสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเป็นการลับว่า พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเสด็จเข้ามาลอบทำชู้กับเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ถึงในพระราชวังหลายครั้ง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำรัสให้หาพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเพื่อนำตัวมาสอบความ เมื่อพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรรับเป็นสัจแล้ว จึงมีพระราชดำรัสลงพระราชอาญาเฆี่ยน แล้วให้เสนาบดีและลูกขุนพิพากษาโทษ ท้าวพระยามุขมนตรีและลูกขุนกราบบังคมทูลว่า โทษของพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเป็นมหันตโทษขอพระราชทานให้[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ตามขัตติยประเพณี สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสขอชีวิตไว้แต่ให้นาบพระนลาฏแล้วถอดให้เป็นไพร่เสีย ส่วนเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนองค์ละ 30 ที พร้อมทั้งถอดเป็นไพร่เช่นกัน เจ้าฟ้าสังวาลย์อยู่ได้ 3 วันก็สิ้นพระชนม์ ส่วนพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรต้องรับพระราชอาญาเฆี่ยนและเสด็จสวรรคตลง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสให้นำพระศพทั้งสองไปฝังยัง[[วัดไชยวัฒนาราม]]


ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ซึ่งมีพระอิสริยยศที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] เสด็จขึ้นครองราชย์มีพระนามว่า [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] แต่ก่อนพิธีบรมราชาภิเษกนั้นเกิดเหตุการณ์ไม่สงบ อันเนื่องมาจากเจ้าสามกรมได้พยายามแย่งชิงราชสมบัติ แต่สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ทรงขอให้พระราชาคณะเกลี้ยกล่อมจนสำเร็จ และพระองค์ได้ราชาภิเษกขึ้นครองราชย์ ต่อมา เจ้าสามกรมถูกจับกุมตัวและสำเร็จโทษด้วยท่อนโพเดียมโดยนำพระศพไปฝัง ณ [[วัดโคกพระยา]]ตามโบราณราชประเพณี=-=กระโปก
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ซึ่งมีพระอิสริยยศที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] เสด็จขึ้นครองราชย์มีพระนามว่า [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] แต่ก่อนพิธีบรมราชาภิเษกนั้นเกิดเหตุการณ์ไม่สงบ อันเนื่องมาจากเจ้าสามกรมได้พยายามแย่งชิงราชสมบัติ แต่สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ทรงขอให้พระราชาคณะเกลี้ยกล่อมจนสำเร็จ และพระองค์ได้ราชาภิเษกขึ้นครองราชย์ ต่อมา เจ้าสามกรมถูกจับกุมตัวและสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ โดยนำพระศพไปฝัง ณ [[วัดโคกพระยา]]ตามโบราณราชประเพณี


== พระโอรสธิดา ==
== พระโอรสธิดา ==
''บัญชีพระนามเจ้านาย'' ใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า|คำให้การชาวกรุงใหม่]]ระบุพระนามพระโอรสธิดาของเจ้าสามกรมไว้ดังนี้<ref name="คำให้การ">คำให้การชาวกรุงเก่า, {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และและเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800| หน้า = 628-9}}</ref>
''บัญชีพระนามเจ้านาย'' ใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]] ระบุพระนามพระโอรสธิดาของเจ้าสามกรมไว้ดังนี้<ref name="คำให้การ">คำให้การชาวกรุงเก่า, {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และและเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800| หน้า = 628-9}}</ref>


; พระองค์เจ้าชายแตงโม กรมหมื่นจิตรสุนทร
; พระองค์เจ้าชายมังคุด กรมหมื่นจิตรสุนทร
มีพระโอรสธิดา 3 พระองค์ ประสูติแต่พระองค์เจ้าหญิงกระแห คือ
มีพระโอรสธิดา 3 พระองค์ ประสูติแต่พระองค์เจ้าหญิงกระแห คือ
# พระองค์เจ้าหญิงเต (ชะฎา)
# เจ้าหญิงแตงกวา (บักแตงโม)
# พระองค์เจ้าชายส้มโอ (ลำไย)
# พระองค์เจ้าชายสุทิน (สูวดี)
# พระองค์เจ้าชายเงาะ (ชมพู่)
# พระองค์เจ้าชายแฉ่ง (ชมภู)
พระธิดา 1 พระองค์ไม่ปรากฏนามหม่อมมารดา คือ
พระธิดา 1 พระองค์ไม่ปรากฏนามหม่อมมารดา คือ
# แหม่มเจ้าหญิงมวน
# หม่อมเจ้าหญิงมวน
และพระธิดาอีก 1 พระองค์ประสูติแต่หม่อมมูล คือ

และพระธิดาอีก 1 พระองค์ประสูติแต่หม่อมขี้(มูล) คือ
# หม่อมเจ้าหญิงสิริวัฒน์
# หม่อมเจ้าหญิงสิริวัฒน์


; พระองค์เจ้าชายรถ กรมหมื่นสุนทรเทพ
; พระองค์เจ้าชายรถ กรมหมื่นสุนทรเทพ
มีพระธิดา 1 พระองค์ที่ประสูติแต่พระองค์เจ้าหญิงยี่สุ่น คือ
มีพระธิดา 1 พระองค์ที่ประสูติแต่พระองค์เจ้าหญิงยี่สุ่น คือ
# พระองค์เจ้าหญิงมวน (ง่วง)
# พระองค์เจ้าหญิงมวน (ม่วง)
มีพระโอรสธิดา 4 พระองค์ประสูติแต่หม่อมทองอยู่ คือ
มีพระโอรสธิดา 4 พระองค์ประสูติแต่หม่อมทองอยู่ คือ
# หม่อมเจ้าหญิงองุ่น (วรุณ)
# หม่อมเจ้าหญิงองุ่น (อรุณ)
# หม่อมเจ้าชายขี้หมู (อสุจิ)
# หม่อมเจ้าชายขี้หมู (สูจี)
# หม่อมเจ้าชายกระโปก (cp)
# หม่อมเจ้าชายสุนปุก (สีพี)
# หม่อมเจ้าหญิงอำพัน
# หม่อมเจ้าหญิงอำพัน
และพระโอรสอีก 2 พระองค์ประสูติแต่หม่อมชื่น คือ
และพระโอรสอีก 2 พระองค์ประสูติแต่หม่อมชื่น คือ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:49, 2 ธันวาคม 2562

เจ้าสามกรม เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และ กรมหมื่นเสพภักดี พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ทั้ง 3 พระองค์

พระประวัติ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมีพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระสนมหลายพระองค์ซึ่งพระราชโอรสชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชันษาที่ถือว่าเป็นผู้ใหญ่มี 4 พระองค์ด้วยกัน ได้แก่ พระองค์เจ้าแขก พระองค์เจ้ามังคุด พระองค์เจ้ารถ และพระองค์เจ้าปาน ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยาของสมเด็จพระราชบิดาของพระองค์แล้ว พระองค์เจ้าทั้ง 4 พระองค์ได้รับการสถาปนาให้ทรงกรม ได้แก่

  • พระองค์เจ้าแขก ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นเทพพิพิธ
  • พระองค์เจ้ามังคุด ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นจิตรสุนทร
  • พระองค์เจ้ารถ ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นสุนทรเทพ
  • พระองค์เจ้าปาน ได้รับการสถาปนาที่ กรมหมื่นเสพภักดี

เจ้าสามกรมทรงขัดแย้งกับเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ขณะดำรงพระยศเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล สาเหตุหนึ่งมาจากการที่กรมพระราชวังบวรมีพระบัณฑูรให้ตำรวจมานำตัวเจ้ากรม ปลัดกรมและนายเวรปลัดเวรของเจ้าสามกรมมาถามความว่า เจ้ากรมนั้นเป็นแต่หมื่น เหตุใดจึงตั้งบรรดาศักดิ์กันในกรมให้เป็นขุนซึ่งนับว่าทำสูงเกินว่าศักดิ์ จึงมีพระบัณฑูรให้ลงพระราชอาญาโบยหลังคนละ 15 ทีบ้างคนละ 20 ทีบ้าง

หลังจากนั้นไม่นาน กรมหมื่นสุนทรเทพทำเรื่องกราบทูลสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเป็นการลับว่า พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเสด็จเข้ามาลอบทำชู้กับเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ถึงในพระราชวังหลายครั้ง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำรัสให้หาพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเพื่อนำตัวมาสอบความ เมื่อพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรรับเป็นสัจแล้ว จึงมีพระราชดำรัสลงพระราชอาญาเฆี่ยน แล้วให้เสนาบดีและลูกขุนพิพากษาโทษ ท้าวพระยามุขมนตรีและลูกขุนกราบบังคมทูลว่า โทษของพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรเป็นมหันตโทษขอพระราชทานให้สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ตามขัตติยประเพณี สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวตรัสขอชีวิตไว้แต่ให้นาบพระนลาฏแล้วถอดให้เป็นไพร่เสีย ส่วนเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าฟ้าสังวาลย์ให้ลงพระราชอาญาเฆี่ยนองค์ละ 30 ที พร้อมทั้งถอดเป็นไพร่เช่นกัน เจ้าฟ้าสังวาลย์อยู่ได้ 3 วันก็สิ้นพระชนม์ ส่วนพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรต้องรับพระราชอาญาเฆี่ยนและเสด็จสวรรคตลง สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสให้นำพระศพทั้งสองไปฝังยังวัดไชยวัฒนาราม

ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ซึ่งมีพระอิสริยยศที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เสด็จขึ้นครองราชย์มีพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร แต่ก่อนพิธีบรมราชาภิเษกนั้นเกิดเหตุการณ์ไม่สงบ อันเนื่องมาจากเจ้าสามกรมได้พยายามแย่งชิงราชสมบัติ แต่สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ทรงขอให้พระราชาคณะเกลี้ยกล่อมจนสำเร็จ และพระองค์ได้ราชาภิเษกขึ้นครองราชย์ ต่อมา เจ้าสามกรมถูกจับกุมตัวและสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ โดยนำพระศพไปฝัง ณ วัดโคกพระยาตามโบราณราชประเพณี

พระโอรสธิดา

บัญชีพระนามเจ้านาย ในคำให้การชาวกรุงเก่า ระบุพระนามพระโอรสธิดาของเจ้าสามกรมไว้ดังนี้[1]

พระองค์เจ้าชายมังคุด กรมหมื่นจิตรสุนทร

มีพระโอรสธิดา 3 พระองค์ ประสูติแต่พระองค์เจ้าหญิงกระแห คือ

  1. พระองค์เจ้าหญิงเต (ชะฎา)
  2. พระองค์เจ้าชายสุทิน (สูวดี)
  3. พระองค์เจ้าชายแฉ่ง (ชมภู)

พระธิดา 1 พระองค์ไม่ปรากฏนามหม่อมมารดา คือ

  1. หม่อมเจ้าหญิงมวน

และพระธิดาอีก 1 พระองค์ประสูติแต่หม่อมมูล คือ

  1. หม่อมเจ้าหญิงสิริวัฒน์
พระองค์เจ้าชายรถ กรมหมื่นสุนทรเทพ

มีพระธิดา 1 พระองค์ที่ประสูติแต่พระองค์เจ้าหญิงยี่สุ่น คือ

  1. พระองค์เจ้าหญิงมวน (ม่วง)

มีพระโอรสธิดา 4 พระองค์ประสูติแต่หม่อมทองอยู่ คือ

  1. หม่อมเจ้าหญิงองุ่น (อรุณ)
  2. หม่อมเจ้าชายขี้หมู (สูจี)
  3. หม่อมเจ้าชายสุนปุก (สีพี)
  4. หม่อมเจ้าหญิงอำพัน

และพระโอรสอีก 2 พระองค์ประสูติแต่หม่อมชื่น คือ

  1. หม่อมเจ้าชายสุชน
  2. หม่อมเจ้าชายชุมแสง
พระองค์เจ้าชายปาน กรมหมื่นเสพภักดี

มีพระโอรสธิดา 1 พระองค์ ประสูติแต่หม่อมเจ้าจัน คือ

  1. หม่อมเจ้าชายไพฑูรย์

อ้างอิง

  • พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ภาค 2. สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พิมพ์ขึ้นเป็นส่วนพระราชกุศลทานมัยในงานพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรเสฐสุดา, พระอรรคชายาเธอ กรมขุนอรรควรราชกัญญา, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี. 2455.
  1. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และและเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553. 800 หน้า. หน้า 628-9. ISBN 978-616-7146-08-9