ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน"

พิกัด: 13°44′49″N 100°29′42″E / 13.74694°N 100.49500°E / 13.74694; 100.49500
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเรื่องสัญลักษณ์หน่วยให้เป็นสารานุกรม
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== สัญลักษณ์ ==
== สัญลักษณ์ ==
เมื่อแรกสถาปนากรมการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2491 กรมการรักษาดินแดนได้กำหนดให้ใช้เครื่องหมายราชการเป็นรูปพระมหามงกุฎคร่อมอุณาโลมและดาบไขว้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/007/94.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 68 ตอนที่ 7 วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2494 หน้า 94-95]</ref> ต่อมาจึงได้มีแก้ไขปรับปรุงดวงตรา โดยเพิ่มรัศมีที่ยอดพระมหามงกุฎและเพิ่มช่อชัยพฤกษ์โอบรอบเบื้องล่างของดวงตรา โดยไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อใด
เมื่อแรกสถาปนากรมการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2491 กรมการรักษาดินแดนได้กำหนดให้ใช้เครื่องหมายราชการ ''"เป็นรูปพระมหามงกุฎคร่อมอุณาโลมและดาบไขว้"''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/007/94.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 68 ตอนที่ 7 วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2494 หน้า 94-95]</ref> ต่อมาจึงได้มีแก้ไขปรับปรุงดวงตรา โดยเพิ่มรัศมีที่ยอดพระมหามงกุฎและเพิ่มช่อชัยพฤกษ์โอบรอบเบื้องล่างของดวงตรา โดยไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อใด


ในปี พ.ศ. 2549 หลังจากการแปรสภาพกรมการรักษาดินแดนและกรมการกำลังสำรองมาเป็นหน่วยบัญชาการกำลังสำรองได้ 5 ปี จึงได้มีการประกาศใช้เครื่องหมายราชการของหน่วยบัญชาการกำลังสำรองอย่างเป็นทางการ ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช 2482 (ฉบับที่ 233) ลงวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2549 ซึ่งกำหนดลักษณะของเครื่องหมายราชการดังกล่าวไว้ว่า "เป็นรูปพระมาตุลีเป่าแตรงอน ถืออินทรโองการ ประทับบนบัลลังก์เมฆสีขาวเหนือดาบโบราณไขว้กัน รองรับด้วยช่อชัยพฤกษ์ภายใต้อุณาโลมและพระมหามงกุฎรัศมีสีทอง เบื้องล่างมีแพรแถบปลายสะบัดขึ้นทั้ง 2 ข้าง กลางแพรแถบมีคำว่า “หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง” ทั้งหมดบรรจุอยู่ภายในกรอบรูปวงรี (ไม่จำกัดขนาด)"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/007/94.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 106 ง วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2549 หน้า 3]</ref>
ในปี พ.ศ. 2549 หลังจากการแปรสภาพกรมการรักษาดินแดนและกรมการกำลังสำรองมาเป็นหน่วยบัญชาการกำลังสำรองได้ 5 ปี จึงได้มีการประกาศใช้เครื่องหมายราชการของหน่วยบัญชาการกำลังสำรองอย่างเป็นทางการ ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช 2482 (ฉบับที่ 233) ลงวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2549 ซึ่งกำหนดลักษณะของเครื่องหมายราชการดังกล่าวไว้ว่า ''"เป็นรูปพระมาตุลีเป่าแตรงอน ถืออินทรโองการ ประทับบนบัลลังก์เมฆสีขาวเหนือดาบโบราณไขว้กัน รองรับด้วยช่อชัยพฤกษ์ภายใต้อุณาโลมและพระมหามงกุฎรัศมีสีทอง เบื้องล่างมีแพรแถบปลายสะบัดขึ้นทั้ง 2 ข้าง กลางแพรแถบมีคำว่า “หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง” ทั้งหมดบรรจุอยู่ภายในกรอบรูปวงรี (ไม่จำกัดขนาด)"''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/007/94.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 106 ง วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2549 หน้า 3]</ref>
หลังจากการแปรสภาพหน่วยบัญชาการกำลังสำรองเป็นหน่วยบัญชาการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2552 จึงได้มีการปรับปรุงแบบภาพเครื่องหมายราชการอีกครั้ง และกำหนดรายละเอียดต่างๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ตามความในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช ๒๔๘๒ (ฉบับที่ 269) ลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ดังนี้
หลังจากการแปรสภาพหน่วยบัญชาการกำลังสำรองเป็นหน่วยบัญชาการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2552 จึงได้มีการปรับปรุงแบบภาพเครื่องหมายราชการอีกครั้ง และกำหนดรายละเอียดต่างๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ตามความในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช ๒๔๘๒ (ฉบับที่ 269) ลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ดังนี้


เครื่องหมายราชการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน เป็นรูปพระมาตุลีเป่าแตรงอนสีขาว ถือพระขรรค์ ประทับบนบัลลังก์เมฆสีขาวเหนือดาบโบราณไขว้กันสีเงิน ภายใต้อุณาโลมและพระมหามงกุฎรัศมีสีทอง ทั้งหมดบรรจุอยู่ภายในกรอบรูปวงรีสีน้ําเงิน (ไม่จํากัดขนาด) เบื้องล่างมีแพรแถบปลายสะบัดขึ้นทั้ง 2 ข้างสีน้ําเงิน กลางแพรแถบมีชื่อหน่วยเป็นตัวอักษรภาษาไทยสีขาวคําว่า "หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/E/138/20.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนที่ 128 ง วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555 หน้า 20-21]</ref>
''เครื่องหมายราชการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน เป็นรูปพระมาตุลีเป่าแตรงอนสีขาว ถือพระขรรค์ ประทับบนบัลลังก์เมฆสีขาวเหนือดาบโบราณไขว้กันสีเงิน ภายใต้อุณาโลมและพระมหามงกุฎรัศมีสีทอง ทั้งหมดบรรจุอยู่ภายในกรอบรูปวงรีสีน้ําเงิน (ไม่จํากัดขนาด) เบื้องล่างมีแพรแถบปลายสะบัดขึ้นทั้ง 2 ข้างสีน้ําเงิน กลางแพรแถบมีชื่อหน่วยเป็นตัวอักษรภาษาไทยสีขาวคําว่า "หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน"''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/E/138/20.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนที่ 128 ง วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555 หน้า 20-21]</ref>
<center>
<center>
<gallery caption="" widths="150px" heights="150px" perrow="">
<gallery caption="" widths="150px" heights="150px" perrow="">
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
</gallery>
</gallery>
</center>
</center>

== หน่วยงานในสังกัด ==
== หน่วยงานในสังกัด ==
*[[ศูนย์การกำลังสำรอง ศูนย์การทหารราบ]] ([[ค่ายธนรัชต์]])
*[[ศูนย์การกำลังสำรอง ศูนย์การทหารราบ]] ([[ค่ายธนรัชต์]])

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:26, 1 ธันวาคม 2562

อาคารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน

หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน หรือ หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง เป็นหน่วยงานขึ้นในสังกัดกองทัพบก เดิมใช้ชื่อว่า กรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2491 มีภารกิจหลัก คือ เตรียมกำลังสำรองให้แก่กองทัพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึกอบรมเยาวชนของชาติ อันได้แก่ นักศึกษาวิชาทหาร (นศท.)[1]

ปัจจุบัน มีที่ทำการตั้งอยู่ ณ เลขที่ 2 ถนนเจริญกรุง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตัวอาคารสร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ[2] มีความสวยงาม ตั้งแต่ พ.ศ. 2466 โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในที่ ๆ เคยเป็นสวนเจ้าเชตุ และวังท้ายหับเผย ถือเป็นอาคารอนุรักษ์แห่งหนึ่ง[1] โดยครั้งก่อตั้งใช้ชื่อว่า กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์[3]

สัญลักษณ์

เมื่อแรกสถาปนากรมการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2491 กรมการรักษาดินแดนได้กำหนดให้ใช้เครื่องหมายราชการ "เป็นรูปพระมหามงกุฎคร่อมอุณาโลมและดาบไขว้"[4] ต่อมาจึงได้มีแก้ไขปรับปรุงดวงตรา โดยเพิ่มรัศมีที่ยอดพระมหามงกุฎและเพิ่มช่อชัยพฤกษ์โอบรอบเบื้องล่างของดวงตรา โดยไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อใด

ในปี พ.ศ. 2549 หลังจากการแปรสภาพกรมการรักษาดินแดนและกรมการกำลังสำรองมาเป็นหน่วยบัญชาการกำลังสำรองได้ 5 ปี จึงได้มีการประกาศใช้เครื่องหมายราชการของหน่วยบัญชาการกำลังสำรองอย่างเป็นทางการ ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช 2482 (ฉบับที่ 233) ลงวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2549 ซึ่งกำหนดลักษณะของเครื่องหมายราชการดังกล่าวไว้ว่า "เป็นรูปพระมาตุลีเป่าแตรงอน ถืออินทรโองการ ประทับบนบัลลังก์เมฆสีขาวเหนือดาบโบราณไขว้กัน รองรับด้วยช่อชัยพฤกษ์ภายใต้อุณาโลมและพระมหามงกุฎรัศมีสีทอง เบื้องล่างมีแพรแถบปลายสะบัดขึ้นทั้ง 2 ข้าง กลางแพรแถบมีคำว่า “หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง” ทั้งหมดบรรจุอยู่ภายในกรอบรูปวงรี (ไม่จำกัดขนาด)"[5]

หลังจากการแปรสภาพหน่วยบัญชาการกำลังสำรองเป็นหน่วยบัญชาการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2552 จึงได้มีการปรับปรุงแบบภาพเครื่องหมายราชการอีกครั้ง และกำหนดรายละเอียดต่างๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ตามความในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช ๒๔๘๒ (ฉบับที่ 269) ลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ดังนี้

เครื่องหมายราชการหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน เป็นรูปพระมาตุลีเป่าแตรงอนสีขาว ถือพระขรรค์ ประทับบนบัลลังก์เมฆสีขาวเหนือดาบโบราณไขว้กันสีเงิน ภายใต้อุณาโลมและพระมหามงกุฎรัศมีสีทอง ทั้งหมดบรรจุอยู่ภายในกรอบรูปวงรีสีน้ําเงิน (ไม่จํากัดขนาด) เบื้องล่างมีแพรแถบปลายสะบัดขึ้นทั้ง 2 ข้างสีน้ําเงิน กลางแพรแถบมีชื่อหน่วยเป็นตัวอักษรภาษาไทยสีขาวคําว่า "หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน"[6]

หน่วยงานในสังกัด

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง : ความสำคัญ". หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน. สืบค้นเมื่อ 2018-03-06.
  2. "เจริญกรุง แรกมีความศิวิไลซ์ในสยาม". พินิจนคร. 2009-02-02.
  3. "กรมการรักษาดินแดน". ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์.
  4. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 68 ตอนที่ 7 วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2494 หน้า 94-95
  5. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 106 ง วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2549 หน้า 3
  6. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนที่ 128 ง วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555 หน้า 20-21

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′49″N 100°29′42″E / 13.74694°N 100.49500°E / 13.74694; 100.49500