ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบรัฐสภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
1234เเก้ไหม่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Forms of government parliamentary.svg|right|400px|thumb|'''แผนที่ความแตกต่างของระบบรัฐสภา'''
เว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกากเว็บกาก
{{legend|#ff9a33|[[สาธารณรัฐระบบรัฐสภา]] ประธานาธิบดีที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง}}
{{legend|#66bb66|[[สาธารณรัฐระบบรัฐสภา]] โดย[[ประธานาธิบดี|ฝ่ายบริหารประธานาธิบดี]]ขึ้นอยู่กับสภานิติบัญญัติ}}
{{legend|#e75353|[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง}}]]
'''ระบบรัฐสภา''' เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือ[[รัฐบาล]]มีที่มาจาก[[รัฐสภา]]ซึ่งทำหน้าที่[[นิติบัญญัติ]] และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่ง[[ประมุขแห่งรัฐ]] และตำแหน่ง[[หัวหน้ารัฐบาล]]มักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็น[[พระมหากษัตริย์]]ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือ[[ประธานาธิบดี]]จากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดใน[[อังกฤษ]]ใน ศตวรรษที่17

โดยมีประเทศที่ใช้ระบบ[[สาธารณรัฐระบบรัฐสภา]]ได้แก่ [[เยอรมนี]] [[อิตาลี]] [[อินเดีย]] [[ออสเตรีย]] [[ฮังการี]] [[ตุรกี]] [[อิรัก]] [[อิสราเอล]] [[ปากีสถาน]] [[สิงคโปร์]] [[ไอร์แลนด์]] [[ไอซ์แลนด์]] [[ฟินแลนด์]] [[กรีซ]] [[เซอร์เบีย]] [[เช็กเกีย]] [[บัลแกเรีย]] [[เนปาล]] [[บังกลาเทศ]] [[เอธิโอเปีย]] [[ซูรินาม]] เป็นต้น

ส่วนประเทศที่ใช้ระบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]ได้แก่ [[สหราชอาณาจักร]] [[ญี่ปุ่น]] [[ไทย]] [[กัมพูชา]] [[มาเลเซีย]] [[สเปน]] [[สวีเดน]] [[นอร์เวย์]] [[เนเธอร์แลนด์]] [[เบลเยียม]] [[เดนมาร์ก]] [[แคนาดา]] [[ออสเตรเลีย]] [[นิวซีแลนด์]] [[ลักเซมเบิร์ก]] [[ลิกเตนสไตน์]] [[โมนาโก]] [[อันดอร์รา]] เป็นต้น

== ประวัติของระบบรัฐสภา ==
การปกครองระบบรัฐสภา เป็นการปกครองที่เกิดขึ้นครั้งแรก ณ [[ประเทศอังกฤษ]]ในศตวรรษที 17 ซึ่งเป็นผลมาจากการการช่วงชิงอำนาจระหว่างกษัตริย์กับสภาที่ประเทศอังกฤษ ประเทศอังกฤษจึงถือได้ว่าเป็นต้นแบบของรูปแบบรัฐบาลแบบนี้ รัฐสภาในประเทศอังกฤษสมัยนั้นถูกจัดตั้งขึ้นในสมัยที่พระมหากษัตริย์ยังคงอำนาจเด็ดขาดอยู่ รัฐสภาอังกฤษขณะนั้นเป็นสภาที่รวมของชนชั้นต่าง ๆ ซึ่งเปิดโอกาสให้คนธรรมดาที่เป็นสามัญชนเข้าไปนั่งในรัฐสภาด้วย รัฐสภาจึงเป็นสถาบันทางการเมืองเพียงแห่งเดียวที่คนธรรมดาจะเข้าไปมีบทบาททางการเมืองได้ รัฐสภาจึงเป็นสถาบันของประชาชน ก็คือรัฐสภาได้เข้ามามีบทบาทควบคุมการใช้อำนาจของกษัตริย์รวมทั้งการปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรีอีกด้วย

== ดูเพิ่ม ==
* [[ระบบสภาเดี่ยว]]
* [[ระบบสองสภา]]
* [[ระบบสามสภา]]
* [[ระบบสี่สภา]]

[[หมวดหมู่:สภานิติบัญญัติ]]
[[หมวดหมู่:สภานิติบัญญัติ]]
{{โครงการเมือง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:51, 22 พฤศจิกายน 2562

แผนที่ความแตกต่างของระบบรัฐสภา
  สาธารณรัฐระบบรัฐสภา ประธานาธิบดีที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง
  สาธารณรัฐระบบรัฐสภา โดยฝ่ายบริหารประธานาธิบดีขึ้นอยู่กับสภานิติบัญญัติ
  ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง

ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17

โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น

ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น

ประวัติของระบบรัฐสภา

การปกครองระบบรัฐสภา เป็นการปกครองที่เกิดขึ้นครั้งแรก ณ ประเทศอังกฤษในศตวรรษที 17 ซึ่งเป็นผลมาจากการการช่วงชิงอำนาจระหว่างกษัตริย์กับสภาที่ประเทศอังกฤษ ประเทศอังกฤษจึงถือได้ว่าเป็นต้นแบบของรูปแบบรัฐบาลแบบนี้ รัฐสภาในประเทศอังกฤษสมัยนั้นถูกจัดตั้งขึ้นในสมัยที่พระมหากษัตริย์ยังคงอำนาจเด็ดขาดอยู่ รัฐสภาอังกฤษขณะนั้นเป็นสภาที่รวมของชนชั้นต่าง ๆ ซึ่งเปิดโอกาสให้คนธรรมดาที่เป็นสามัญชนเข้าไปนั่งในรัฐสภาด้วย รัฐสภาจึงเป็นสถาบันทางการเมืองเพียงแห่งเดียวที่คนธรรมดาจะเข้าไปมีบทบาททางการเมืองได้ รัฐสภาจึงเป็นสถาบันของประชาชน ก็คือรัฐสภาได้เข้ามามีบทบาทควบคุมการใช้อำนาจของกษัตริย์รวมทั้งการปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรีอีกด้วย

ดูเพิ่ม